Page 193 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 193
สุโขทัย...บนเส้นทางคาบสมุทรทะเลอันดามันและทะเลจีนใต้ 18 ํ 32’ N
108 ํ 33’ E
สุโขทัย
หล่มสัก
กาฬสินธุ์ เว้
พิษณุโลก สะหวันนะเขต ลาวบาว
มุกดาหาร
ขอนแก่น
(..ขุนสามชน...เจ้าเมืองฉอด..) เส้นทางผ่านไปออกทะเลอันดามัน ที่เมืองเมาะตะมะ (เมืองที่มะกะโท ภายหลังคือเจ้าฟ้ารั่วเป็นเจ้าเมืองในต�านาน
29 ํ 22’ N
122 ํ 32’ E พระร่วง)
เส้นทางด้านทิศเหนือ ผ่านแม่น�้าปิง ไปยังเมืองเชียงใหม่ ผ่านแม่น�้าวังไปเมืองล�าปาง และแม่น�้ายมไปเมืองแพร่ บนเส้นทางสามแพร่งไปจาก
เมืองสุโขทัย ไปยังเมืองน่าน และเมืองพะเยาบนเส้นทางผ่านแม่น�้าอิงไปยังเวียงลอ แม่น�้าโขงที่เมืองเชียงของ และไปยังเมืองเชียงรายในลุ่มแม่น�้ากก
จนถึงเมืองเชียงแสน และมีเส้นทางทิศใต้ออกสู่อ่าวไทย
สุโขทัย...เมืองศูนย์กลางการค้าและการปกครอง
“สุโขทัย...ในจารึก” กล่าวถึงความเจริญเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าและการปกครองคลุมพื้นที่กว้างขวาง มีต�าแหน่งที่ตั้งเมืองในบริเวณ
ที่ราบเจ้าพระยาตอนบน ภาพจากดาวเทียมแสดงให้เห็นเส้นทางคมนาคมตัดผ่านเป็นเครือข่าย มีเส้นทางข้ามคาบสมุทรเป็นทางออกสู่ทะเลอันดามัน
และทะเลจีนใต้ และเส้นทางหลักเชื่อมโยงไปยังดินแดนต่างๆ ที่อยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน สร้างความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของเมืองสุโขทัยในดินแดน
ตอนเหนือของอุษาคเนย์ เมื่อเปรียบเทียบกับที่ตั้งเมือง “ลพบุรี” หรือ “ลวปุระ” ซึ่งเป็นศูนย์กลางอ�านาจในอ่าวไทยภายใต้อิทธิพลขอม ครอบคลุม
บริเวณชะวากทะเลอ่าวไทย และเส้นทางข้ามคาบสมุทร “ปากโขงถึงปากมังกร” ผ่านเมืองลพบุรี ไปยังเมืองทะวายบนฝั่งทะเลอันดามันเชื่อมโยงกับ
เมืองพระนคร ความเจริญรุ่งเรืองของสุโขทัยในครั้งนั้นได้มีการบันทึกไว้ในจารึกพ่อขุนรามค�าแหง พ.ศ. ๑๘๓๕ ที่คนไทยล้วนท่องจ�าได้แม่นย�า
“...สุโขทัยนี้ดี ในน�้ามีปลา ในนามีข้าว...”
แต่ยังมีผู้สงสัยในจารึกว่ามีความเกินจริง...โดยใช้เหตุผลที่ว่า สุโขทัยนั้นแห้งแล้งออกทะเลไม่ได้ ด้วยขาดความรู้ความเข้าใจในแก่นแท้
ของความเป็นเมืองสุโขทัย
he upper Chao Phraya Plain…
Sukhothai land
The upper Chao Phraya plain, also known as “The upper central plain” covers the areas of the Pasak basin and
the Chao Phraya basin including the rivers Ping, Wang, Yom and Nan flowing through the plain and merging to form
the Chao Phraya River at Nakhon Sawan, also known as “Teen Ping” in Sukhothai inscription.
Its area, which can be clearly seen on the satellite images, is known as the Boraphet wetland.
“Muang Sukhothai”, an important and prosperous city, used to be the hub of military activity, administration,
trade, language, knowledge, art and culture. Currently, Sukhothai is located at the foot of the mountain area of
Khao Luang, west of the Yom River in approximately the center of the upper
Chao Phraya plain or “Sukhothai land”. The transport routes in and out of the city are convenient and
extend in all directions. The eastern route runs through the Nan River basin in Muang Phitsanulok and
goes out to the Pasak River basin, then passes through the Phetchabun mountain range to enter the Korat plateau
and continue to the Mekong River. In the west, the route to Muang Tak passes through the Thanon Thongchai mountain range
toward the Mae Sot district and goes out to the Andaman Sea. The northern route goes
through the Ping River towards Chiang Mai Province, through the Wang River to Lampang,
and through the Yom to Phrae. In the south, the transport route runs to the Gulf of Thailand.
l 179 179