Page 196 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 196

“ท่อปู่พระยาร่วง”...
             คลองชลประทานระบบบาราย ที่มาของการสร้างเมืองสุโขทัย


             “ภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชร”
             ต้นก�าเนิด “ท่อปู่พระยาร่วง”


                   เมืองก�าแพงเพชร  ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออก
             แม่น�้าปิง ที่บริเวณจุดยอดสูงสุดของ “ภูมิลักษณ์ตะกอน
             รูปพัดก�าแพงเพชร” เกิดจากการทับถมตะกอนแม่น�้าปิง
             ท่วมล้นฝั่งตรงบริเวณที่แม่น�้าปิงไหลจากบริเวณภูเขา

             ออกสู่ที่ราบบริเวณที่ตั้งเมืองก�าแพงเพชร อ�านวยให้น�้า
             ที่ไหลล้นฝั่งแม่น�้าปิง  ไหลไปตามความลาดเอียง
             ของเนินตะกอนรูปพัดไปทางทิศเหนือ ทางทิศตะวันออก
             และทางทิศใต้ตลอดเนินตะกอนรูปพัดลงสู่แม่น�้ายม
                   แนวคู-คันดินที่เห็นเป็นช่วงๆ จากแม่น�้าปิงที่
             เมืองก�าแพงเพชร  ยาวตลอดถึงเมืองสุโขทัยและ
             เมืองศรีสัชนาลัยนั้น ภาพจากดาวเทียมแสดงให้เห็นคู-

             คันดินยาวเป็นแนวไปตามขอบด้านเหนือของภูมิลักษณ์                             ภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัด
             ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชร เชื่อมต่อกับแนวคู-คันดิน                                 กําแพงเพชร
             บนที่ราบลานตะพักแม่น�้ายมซึ่งยาวไปตามแนวเชิงภูเขา
             หลวงตลอดถึงเมืองสุโขทัย ความลาดเอียงตามแนวคู-
             คันดินอ�านวยให้น�้าไหลได้เองจากแม่น�้าปิงขึ้นไปทาง
             ทิศเหนือถึงเมืองสุโขทัยโดยอาศัย “บาราย” ยกระดับน�้า
             ให้สูงขึ้นไหลไปตามแนวคลองชลประทาน ระบบบาราย
             ไปบรรจบกับแนวคลองระบายน�้าจากศรีสัชนาลัยด้าน
             ทิศเหนือมารวมกันที่บารายพระพายหลวงเมืองสุโขทัย

                   เมืองก�าแพงเพชรตั้งอยู่ชิดฝั่งตะวันออกของ
             แม่น�้าปิง ตรงกันข้ามกับเมืองนครชุม เป็นส่วนสูงสุด
             ของภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชรมีระดับ
             ความสูงจากระดับน�้าทะเล ๗๙ เมตร ระบายน�้าไหล
             แยกแขนงไปตามความลาดเอียงของภูมิประเทศที่
             แผ่กว้างเป็นรูปพัด ด้านทิศเหนือผ่านเมืองบางพาน
             ไปรวมกับคลองวังชะโอน และคลองสารบบไหลลงสู่       ก�าแพงเมือง-คูเมือง  สุโขทัย  ศรีสัชนาลัย  และก�าแพงเพชร  รวมทั้งคูคลองมีความสัมพันธ์กับ

             แม่น�้ายมที่บ้านปากพระ  ห่างจากเมืองสุโขทัยไปทาง   สภาพภูมิประเทศ ปรากฏให้เห็นเด่นชัดในรูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม
             ทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ ๒๐ กิโลเมตรที่ระดับ   เมืองสุโขทัย ตั้งอยู่เชิงเขาหลวงบนลานตะพักแม่น�้าฝั่งตะวันตกของแม่น�้ายมที่ระดับความสูง ๔๙ เมตร
             ความสูงประมาณ ๕๔ เมตร ด้านทิศตะวันออกระบาย  (ระดับทะเลปานกลาง)
             ลงสู่ที่ราบน�้าท่วมถึงลุ่มน�้ายม-น่าน  ยาวตลอดจาก   เมืองศรีสัชนาลัย ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเมืองสุโขทัยบนฝั่งตะวันตกของแม่น�้ายมที่ระดับความสูง
             เมืองพิษณุโลกถึงบริเวณเมืองพิจิตรซึ่งมีระดับความสูง  ๖๕ เมตร (ระดับทะเลปานกลาง)
             อยู่ที่ ๓๖ เมตร และตลอดทิศใต้ถึงที่ราบลุ่มตีนปิง   เมืองก�าแพงเพชร  ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองสุโขทัย  บนฝั่งตะวันออกของแม่น�้าปิงที่ต�าแหน่ง
             ระดับความสูงประมาณ  ๒๖  เมตร  เป็นบริเวณที่   จุดยอดของภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชรที่ระดับความสูง ๗๙ เมตร (ระดับทะเลปานกลาง)
             แม่น�้าปิงไหลมาบรรจบกับแม่น�้าน่าน  เป็นที่ตั้งของ   ร่องรอยหลักฐานคู-คันดิน ปรากฏให้เห็นในภาพจากดาวเทียม แสดงว่าเป็นแนวคลองโบราณ มีคันดิน
             เมืองปากน�้าโพ จังหวัดนครสวรรค์ ด้านทิศเหนือน�้าไหล  สร้างขึ้นเป็นพนังข้างเดียวบ้างสองข้างบ้าง ยาวตลอดจากก�าแพงเพชร สุโขทัย ถึงศรีสัชนาลัย เป็นลักษณะ

             จากเมืองก�าแพงเพชรที่ระดับความสูง  ๗๙  เมตร     “คลองชลประทานระบบบาราย” ขุดน�าน�้าจากแม่น�้าปิง ที่ก�าแพงเพชรทางทิศใต้ และคลองที่ขุดน�าน�้าจาก
             ตามแนวขอบภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชร   คลองหนองขามที่ศรีสัชนาลัยทางทิศเหนือ มาบรรจบกันที่ “บารายพระพายหลวง” เป็นคลองชลประทานโบราณ
             จนถึงสุโขทัยที่ระดับความสูง ๔๖ เมตร ตรงต�าแหน่ง   มีชื่อในจารึกว่า “ท่อปู่พระยาร่วง” เป็นที่มาของการสร้าง “เมืองสุโขทัย” สร้างขึ้นในภายหลังโดยอาศัย
             ที่คลองตัดผ่านภูมิประเทศเป็นที่ลุ่มตกท้องช้างน�้าไหล  แนวคลองเป็นคูเมืองด้านตะวันออก
             ผ่านไม่ได้ ภูมิปัญญาในอดีตได้สร้าง “บาราย” ยกระดับ
             ให้น�้าไหลผ่านต่อไปตามธรรมชาติ



           182 182  l
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201