Page 200 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 200
“ท่อปู่พระยาร่วง” บารายสระมโนราห์ 17 ํ 24’ N
99 ํ 44’ E
คลองชลประทานระบบบาราย
แนวคู-คันดินที่เห็นเป็นช่วงๆ จากแม่น�้าปิงที่ก�าแพงเพชรจนถึงสุโขทัยและ
ตลอดไปถึงศรีสัชนาลัยนั้น ภาพจากดาวเทียมแสดงให้เห็นว่ามีแนวไปตามขอบ
ภูมิลักษณ์ตะกอนรูปพัดก�าแพงเพชร และต่อเชื่อมไปตามที่ราบลานตะพักฝั่ง
ตะวันตกของแม่น�้ายมตลอดแนวเชิงภูเขาหลวงถึงศรีสัชนาลัย ความลาดเอียงอ�านวย
ให้น�้าไหลได้เอง ในการชลประทาน “ระบบบาราย” จากแม่น�้าปิงที่เมืองก�าแพงเพชร
จนถึงเมืองสุโขทัย ไปบรรจบกับแนวคลองด้านทิศเหนือ น�าน�้าจากคลองหนองขาม N
ที่เมืองศรีสัชนาลัยไปจนถึงเมืองสุโขทัย โดยมีบารายพระพายหลวงท�าหน้าที่ปรับระดับ
ให้น�้าระบายผ่านคลองแม่ร�าพันออกสู่แม่น�้ายม 17 ํ 22’ N 600 m.
99 ํ 41’ E Ī GISTDA_2011
การชลประทานระบบบาราย บารายพระพายหลวง 17 ํ 02’ N
แนวคู-คันดินท่อปู่พระยาร่วงด้านทิศใต้เริ่มต้นจากแม่น�้าปิงที่เมืองก�าแพงเพชร 99 ํ 43’ E
ระดับความสูง ๗๙ เมตร และจากด้านทิศเหนือเริ่มต้นจากคลองมะขาม
ที่เมืองศรีสัชนาลัย ระดับความสูง ๖๕ เมตร มาบรรจบกันที่บารายพระพายหลวง
เมืองสุโขทัย ที่ระดับความสูง ๔๙ เมตร ยังคงปรากฏหลักฐานเห็นได้เด่นชัด
ในรูปถ่ายทางอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๖ และบนภาพจากดาวเทียมปัจจุบัน เป็นแนว
คันดินคู่ขนานกับคลอง บริเวณที่แนวคู-คันดินผ่านที่ราบลุ่มตกท้องช้างน�้าไหล
ผ่านไม่ได้ พบหลักฐาน “บาราย” ท�าหน้าที่ยกระดับน�้า ในบริเวณด้านใต้จากแม่น�้าปิง
ถึงสุโขทัย ๒ แห่ง ได้แก่ ที่ “ทุ่งเมือง” และที่ “คีรีมาศ” และในบริเวณด้านทิศเหนือ N
ศรีสัชนาลัยถึงสุโขทัยอีก ๑ แห่ง ที่บริเวณสระมโนราห์ บารายเหล่านี้ท�าหน้าที่
ยกระดับน�้าให้ไหลตามความลาดเอียงมาบรรจบกันที่บารายพระพายหลวงติดกับ 17 ํ 01’ N 300 m.
เมืองสุโขทัยด้านทิศเหนือ เป็นหลักฐานแสดงถึงภูมิปัญญาการจัดการน�้าที่มีมาแต่อดีต 99 ํ 42’ E Ī GISTDA_2011
บารายคีรีมาศ 16 ํ 48’ N
99 ํ 45’ E
N
400 m.
16 ํ 47’ N
99 ํ 43’ E Ī GISTDA_2011
บารายทุ่งเมือง 16 ํ 43’ N
99 ํ 41’ E
“บาราย” หมายถึง
คู-คันดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าล้อมรอบบริเวณที่ลุ่มต�่า สร้างขึ้น
ในการขุดคลองชลประทานระบบบาราย ตรงบริเวณที่คลองตัดผ่าน
ที่ลุ่มตกท้องช้างน�้าไหลผ่านเองไม่ได้ โดยบารายจะท�าหน้าที่รับน�้า N
จากคลองที่ระบายน�้าเข้ามาด้านหนึ่ง และยกระดับน�้าให้ไหลผ่าน
ออกไปตามแนวคลองอีกด้านหนึ่ง 16 ํ 41’ N 600 m.
99 ํ 38’ E Ī GISTDA_2011
186 186 l