Page 202 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 202
บารายที่สระมโนราห์
“เมืองศรีสัชนาลัย” ผังเมืองมีก�าแพงเมือง-คูเมืองล้อมรอบ ด้านตะวันออก โดยเป็นสภาพภูมิประเทศตามธรรมชาติที่มีมาก่อนการสร้างเมือง
ติดฝั่งแม่น�้ายม คลุมพื้นที่เมืองเก่ามีวัดพระศรีมหาธาตุอยู่ภายในเมืองส่วนตะวันออก ภายหลังปากคลองหนองขามถูกปิดกั้นไม่ให้ไหลออกแม่น�้ายมเพื่อระบายน�้า
และส่วนของเมืองศรีสัชนาลัยซึ่งมีก�าแพงเมือง-คูเมืองขุดข้ามภูเขาสุวรรณคีรี เข้าไปใช้ในเมือง และจากคลองหนองขามทางทิศตะวันตกของเมืองศรีสัชนาลัย
ไปบรรจบกับคูเมืองด้านทิศเหนือ ซึ่งขุดลอกตามแนวทางน�้าเก่าคลองหนองขาม มีคลองขุดแยกลงมาทางทิศใต้ บรรจบกับทางน�้าที่ระบายออกมาจากสระมโนราห์
ที่เคยไหลลงสู่แม่น�้ายมด้านทิศเหนือของตัวเมือง ก่อนที่จะเปลี่ยนทางเดินมาระบาย ผ่านบารายที่สระมโนราห์ยกระดับน�้าระบายไปตามคลองผ่านเมืองบางขลัง
น�้าผ่านที่ลุ่มด้านตะวันตกและไหลลงสู่แม่น�้ายมทางทิศใต้ของเมืองศรีสัชนาลัย ถึงเมืองสุโขทัย
17 ํ 27’ N
99 ํ 50’ E
แม่นํ้ายม
คลองหนองขาม
ศรีสัชนาลัย
สระมโนราห์
แนวท่อปู่พระยาร่วง
บารายที่สระมโนราห์
N
17 ํ 21’ N
99 ํ 40’ E 1 km.
“สระมโนราห์” เป็นบึงน�้าขังในลุ่มน�้าไหลลงสู่แม่น�้ายม มีบารายตั้งอยู่บน
ขอบเนินเชิงเขาฝั่งตะวันออกติดขอบลุ่มน�้าด้านทิศใต้ของสระมโนราห์ ฝั่งตรงกันข้าม
กับกลุ่มเขาสุวรรณคีรี ที่ตั้งเมืองศรีสัชนาลัย ห่างจากสระมโนราห์ไปทางตะวันออก
เฉียงเหนือประมาณ ๘ กิโลเมตร บารายรับน�้าจากสระมโนราห์ และจากแนวคูคลอง
ระบายน�้าจากคลองหนองขาม ท�าหน้าที่ยกระดับน�้าไหลไปตามคลองผ่านเมืองบางขลัง
ไปตามแนวคลองสู่บารายวัดพระพายหลวงทางทิศใต้ระยะทางประมาณ ๔๑ กิโลเมตร
ปัจจุบันกรมชลประทานได้กั้นคันดินปากทางออกสระมโนราห์ซึ่งติดกับ
บารายด้านทิศใต้ของสระมโนราห์ โดยขุดคลองชลประทานขึ้นใหม่คู่ขนานกับ
แนวคลองโบราณ (ท่อปู่พระยาร่วง) ที่มีอยู่แล้ว โดยเจตนาที่จะอนุรักษ์คันดินตาม
ความเชื่อที่มีมาแต่อดีตว่าสร้างขึ้นเป็นถนน นับเป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้ต้อง
ขุดคลองชลประทานขึ้นใหม่ แทนการขุดลอกอนุรักษ์คลองเก่า เพื่อเป็นการยกย่อง
ภูมิปัญญาของคนในอดีต
188 188 l