Page 205 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 205
ท�าหน้าที่ยกระดับน�้าให้ไหลเข้าสู่คลองชลประทาน
16 ํ 50’ N บารายที่ “คีรีมาศ” 16 ํ 48’ N
99 ํ 49’ E 99 ํ 44’ E “ท่อปู่พระยาร่วง” ที่ขุดเป็นแนวบนลานตะพักแม่น�้ายม
จากนั้นน�้าจะไหลได้เองตลอดจนถึงสุโขทัย โดยไหลไป
ที่บารายพระพายหลวง บรรจบกับคลองที่น�าน�้ามาจาก
ด้านทิศเหนือ การเปลี่ยนแปลงทางน�้าตามธรรมชาติ
ได้ท�าลายบารายที่เป็นกุญแจส�าคัญของคลอง
ชลประทานระบบบาราย มีผลท�าให้คลองชลประทาน
“ท่อปู่พระยาร่วง” สูญสิ้นไปจากความทรงจ�าจนถึง
ทุกวันนี้
น�้ามีชีวิต มีที่อยู่ รู้ที่ไป
ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต�่าตลอด
เมื่อปิดกั้นน�้าไม่ให้ไหล น�้าจะเอ่อสูงขึ้น
จนกว่าจะหาทางออกได้ต่อไป
บารายที่ “คีรีมาศ” มีคลองสารบบไหลผ่าน
ขอบที่ราบลานตะพักลาดเอียงจากบริเวณภูเขาลงสู่
N แม่น�้ายม มีคันดินสร้างเป็นบารายล้อมรอบบริเวณ
เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปิดกั้นคลองสารบบและรับน�้าจาก
แนวคลองที่ไหลผ่าน “บารายบ้านทุ่งเมือง” ที่อ�าเภอ
16 ํ 47’ N 200 m.
99 ํ 44’ E © GISTDA_2011 พรานกระต่าย ท�าหน้าที่ยกระดับน�้าให้ไหลเข้าแนวคลอง
ที่มีพนังปิดกั้นด้านเดียวบังคับน�้าให้ไหลไปตามคลอง
บารายที่ “ทุ่งเมือง” 16 ํ 43’ N ได้ตลอดจนถึงเมืองสุโขทัย ปัจจุบันสร้างถนน (ทางหลวง
99 ํ 40’ E
จังหวัดหมายเลข ๑๐๑) ด้านทิศใต้ของบารายคีรีมาศ
เชื่อมต่อกับถนนที่สร้างทับบนพนังยาวตลอดถึงสุโขทัย
และยังคงปล่อยให้น�้าระบายผ่านคลองสารบบลงสู่
แม่น�้ายม และแนวคันด้านทิศตะวันออกของบาราย
คีรีมาศถูกคลองสารบบกัดเซาะหายไป
บารายที่ “ทุ่งเมือง” ห่างจากอ�าเภอพรานกระต่าย
ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ ๙ กิโลเมตร
หลักฐานในรูปถ่ายทางอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๖ แสดงให้
เห็นได้ชัดเจนเป็นแนวคูมีคันดิน ๒ ข้าง ผ่านที่ราบลุ่ม
ไปหยุดที่คันดินด้านทิศใต้ของบาราย เป็นคันดินกว้าง
ท�าหน้าที่รับน�้าจากคลองด้านทิศใต้ยกระดับให้น�้าไหล
ต่อไปตามแนวคลองด้านทิศเหนือต่อไปยังบารายคีรีมาศ
ร่องรอยในรูปถ่ายทางอากาศดังกล่าว มีผู้สันนิษฐาน
มาแต่เดิมว่าคันดินรอบบารายเป็นก�าแพงเมือง-คูเมือง
เรียกบริเวณนี้ว่า “ทุ่งเมือง” ซึ่งแตกต่างจากการตีความ
ในที่นี้ว่าเป็นบารายท�าหน้าที่ยกระดับน�้าดังกล่าว
ปัจจุบันสร้างถนน (ทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๑๐๑)
ตัดผ่านกลางบาราย “ทุ่งเมือง” คันดินด้านทิศใต้ของ
N
บารายเป็นคันกว้างเป็นที่ตั้งชุมชนในปัจจุบัน
16 ํ 42’ N 300 m.
99 ํ 39’ E © GISTDA_2011
l 191 191