Page 208 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 208

 “ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
                            ่
            มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน






               พ่อขุน “ศรีนาวน�าถุม” และนามเมือง “สุโขทัย”              ผืนแผ่นดิน...มรดกถึงลูกหลานไทย



                         พระนาม พ่อขุน   “ศรีนาวน�าถุม”           “ พ่อขุนศรีนาวน�าถุม” หมายถึง
                                                                                                ่
                         ความหมายของค�า  “ศรี” ...ผู้เป็นใหญ่     “ ผู้เป็นใหญ่ในการชลประทาน และทีมาของการสร้างเมืองสุโขทัย”
                                           “นาว” ...แนว             ถวายพระราชสมัญญานามในการศึกษาครั้งนั้นว่า
                                           “น�าถุม” ...น�้าท่วม   “ พระบิดาแห่งการชลประทานไทย”



                   พระนาม “พ่อขุนศรีนาวน�าถุม” และนามเมือง “สุโขทัย” ปรากฏควบคู่กัน  หลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดีเชื่อว่าเมืองสุโขทัยสร้างขึ้นประมาณ
             ในจารึกวัดศรีชุม “...พระยาศรีนาวน�าถุม เป็นขุน เป็นพ่อ ... เสวยราชย์ในนคร  กลางพุทธศตวรรษที่ ๑๘ หรือประมาณเมื่อ ๘๐๐ ปีมาแล้ว ช่วงเวลาสอดคล้องกับ
             สองอัน อันหนึ่งชื่อนครสุโขทัย อันหนึ่งชื่อนครศรีเส-ชนาไล...” และกล่าวได้ว่าไม่ การตรวจสอบอายุท่อนซุงไม้สักพบที่ริมฝั่งแม่น�้าปิงด้านทิศใต้ติดกับปากคลอง
             ปรากฏนามเมือง “สุโขทัย” ในจารึกที่บ่งบอกช่วงเวลาก่อนหน้านั้น ร่องรอยหลักฐาน ท่อทองแดงในคราวก่อสร้างอุโมงค์ประตูน�้า ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถาน
             ที่ปรากฏในภาพจากดาวเทียมสื่อให้เข้าใจในความหมายของพระนาม     แห่งชาติก�าแพงเพชร  ท่อนไม้สักพบที่บริเวณหัวงาน  ท�าหน้าที่เป็นอุโมงค์หรือ
                   “ศรีนาวน�าถุม...ผู้เป็นใหญ่ในการชลประทาน และที่มาของการสร้างเมือง ประตูน�้าในอดีต  ได้น�ามาก�าหนดอายุอยู่ในช่วงเวลาประมาณ  ๘๑๒  ±  ๖๐  ปี
             สุโขทัย”                                                     (Barbetti, 2535) นับได้ว่าเป็นช่วงเวลาเดียวกันกับพ่อขุนศรีนาวน�าถุมผู้ครองเมือง
                   หลักฐานข้อมูลจากรูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมตามที่อธิบายไว้ สุโขทัย ท�าให้เชื่อได้ว่า ในช่วงรัชกาลพ่อขุนศรีนาวน�าถุมได้มีการสร้างหรือขุดลอกคลอง
             ก่อนแล้วนั้นชี้ชัดว่า ก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัยสร้างขึ้นภายหลังความส�าเร็จของ  ท่อปู่พระยาร่วงมาก่อนการขุดลอกตามที่ปรากฏในจารึกก�าแพงเพชร พ.ศ. ๒๐๕๓
             การสร้างคลองโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” โดยมีวัดพระพายหลวงท�าหน้าที่ควบคุม  เมื่อ ๕๐๐ ปีมาแล้ว พิจารณาตามหลักฐานช่วงเวลาดังกล่าว สันนิษฐานได้ดังต่อไปนี้
             การระบายน�้าผ่านคลองแม่ร�าพันลงสู่แม่น�้ายม  และเมื่อเริ่มต้นสร้างเมืองสุโขทัย
             ได้อาศัยแนวคลองชลประทาน  “ท่อปู่พระยาร่วง”  เป็นคูเมืองด้านทิศตะวันออก    ๑)  พ่อขุนศรีนาวน�าถุมเป็นผู้ขุดคลองชลประทานระบบบารายท่อปูุ่พระยาร่วง
             เป็นหลักฐานแสดงว่าคลองชลประทาน “ท่อปู่พระยาร่วง” สร้างขึ้นก่อนแล้วจึงได้สร้าง  และเป็นผู้สร้างเมืองสุโขทัย (คูเมืองชั้นเดียว) ...หรือ
             “เมืองสุโขทัย”
























































             ท่อนไม้สักประกบกัน ๔ อัน ท�ำหน้ำที่เป็นอุโมงค์น�้ำลอด พบที่ฝั่งแม่น�้ำปิงขณะก�ำลังก่อสร้ำงผนังริมฝั่งแม่น�้ำ ณ บริเวณด้ำนทิศใต้ติดกับอุโมงค์รับน�้ำ ปัจจุบันเก็บรักษำไว้ที่
             พิพิธภัณฑ์โครงกำรพระรำชด�ำริชลประทำนน�้ำนองคลองท่อทองแดง จังหวัดก�ำแพงเพชร

           194 194  l
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213