Page 206 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 206
“ท่อปู่พระยาร่วง”
ที่มาของการสร้างเมืองสุโขทัย
ก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัย และพระพายหลวงยังคงอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์มาแต่อดีต และได้รับ
การบูรณะตามแนวเดิมเห็นได้จากการเปรียบเทียบรูปถ่ายทางอากาศที่บันทึกก่อนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๔๙๔, ๒๕๑๐,
๒๕๑๗ และภาพจากดาวเทียมไทยโชต พ.ศ. ๒๕๕๔ พบหลักฐานแสดงให้สรุปได้ว่าคลองชลประทานโบราณ
“ท่อปู่พระยาร่วง” สร้างขึ้นก่อน พร้อมบารายพระพายหลวงและคลองแม่ร�าพัน ส่วนก�าแพงและคูเมืองสุโขทัยนั้น
สร้างขึ้นภายหลังโดยอาศัยแนวคลองชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” เป็นคูเมืองด้านตะวันออก
ระยะที่ ๑ วัดพระพายหลวง (1) และท่อปู่พระยาร่วง
ระยะที่ ๑
สร้างขึ้นพร้อมกันกับบารายเก่า (4) บริเวณที่เรียก
ในปัจจุบันว่า ตลาดปสาน ท�าหน้าที่ควบคุมระดับน�้าและ
1 4 ระบายน�้าส่วนเกิน ผ่านคลองแม่ร�าพันออกสู่แม่น�้ายม
คลองแม่ร�ำพัน
ระยะที่ ๒ เมืองสุโขทัยสร้างขึ้นครั้งแรกเป็นคูชั้นเดียว
โดยอาศัยแนวคลองชลประทานท่อปูพระยาร่วง
ท่อปู่พระยำร่วง
เป็นแนวคูเมืองด้านตะวันออก ด้านทิศเหนือจรดบาราย
และให้ปากคลองแม่ร�าพัน (7) เป็นกึ่งกลางคูเมือง
วัดระยะทางจากคลองแม่ร�าพันไปสุดมุมเมืองด้าน
ทิศเหนือและด้านทิศใต้เท่ากัน และสร้างแนวก�าแพง
เมือง-คูเมืองด้านอื่นเป็นมุมฉากกับด้านตะวันออก
ระยะที่ ๒
ล้อมรอบเมือง (2)
1 4
ระยะที่ ๓ สร้างก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัยเป็นตรีบูร
7
คลองแม่ร�ำพัน (2 - 3) (คู ๓ ชั้น และคันดินอีก ๓ ชั้น) โดยขุดคูเมือง
2
เพิ่มขึ้นล้อมรอบบริเวณด้านนอกเมืองเดิม ๑ แนว และ
ด้านในเมืองอีก ๑ แนว รวมเป็นคู ๓ ชั้น มีคันดิน หรือ
ก�าแพงอีก ๓ ชั้น ก�าแพงเมือง-คูเมืองที่สร้างขึ้นใหม่
ล้อมรอบแนวเดิม มีปัญหาการระบายน�้า ปิดกั้น
แนวคูท่อปู่พระยาร่วง จึงได้สร้างบารายที่พระพายหลวง
ท่อปู่พระยำร่วง
ขึ้นใหม่ (5) และขุดคลองเลี่ยงเมือง (6) ขนานกับคูเมือง
ระยะที่ ๓ ด้านตะวันออก ให้เชื่อมต่อกับคลองยางซึ่งขุดขึ้นใหม่
เป็นทางระบายน�้าออกสู่แม่น�้ายม ท�าให้การระบายน�้า
1 4 5 ตามคลองท่อปู่พระยาร่วงแยกจากระบบก�าแพงเมือง-
คูเมือง และมีประสิทธิภาพดีขึ้น
7
คลองแม่ร�ำพัน
2 - 3
6
คลองยำง
ก�าแพงเมือง-คูเมืองสุโขทัย และพระพายหลวง ยังคงอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์มาแต่อดีต และได้รับ
การบูรณะตามแนวเดิม เห็นได้จากการเปรียบเทียบรูปถ่ายทางอากาศที่บันทึก พ.ศ. ๒๔๙๔, ๒๕๑๐, ๒๕๑๗ และ
ภาพจากดาวเทียม พ.ศ. ๒๕๔๙ พบหลักฐานแสดงให้สรุปได้ว่า คลองชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” 16 ํ 58’ N
99 ํ 38’ E
สร้างขึ้นพร้อมบารายพระพายหลวงและคลองแม่ร�าพัน ส่วนก�าแพงและคูเมืองสุโขทัยนั้น สร้างขึ้นภายหลัง
โดยอาศัยแนวคลองชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง” เป็นคูเมืองด้านตะวันออก
192 192 l