Page 105 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 105

97





                                                        - พระราชนิพนธเรื่องพระมหาชนก หลังจากที่พระบาทสมเด็จ

                                                        พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงสดับพระธรรม-

                                                        เทศนาของสมเด็จพระมหาวีรวงศ แหงวัดราชผาติการาม
                                                        เมื่อป พ.ศ. 2520 เรื่องพระมหาชนกเสด็จทอดพระเนตร

                                                        พระราชอุทยานในกรุงมิถิลา จากนั้นจึงทรงคนควา
                                                        เรื่องพระมหาชนเพิ่มเติมในพระไตรปฎกและทรงแปลเปน

               ภาษาอังกฤษ ในป พ.ศ. 2539 และแปลเปนภาษาสันสกฤตอีกภาษาหนึ่ง กอนจะแปลเปนฉบับการตูน ในป
               พ.ศ. 2545 เพื่อใหอานเขาใจงายขึ้นอันเปนแนวการดําเนินชีวิตที่เปนมงคลทางหนึ่ง

                         -  พระราชนิพนธเรื่องทองแดง เปนหนังสือที่แฝงขอคิด คติธรรมที่มีคุณคา โดยเฉพาะความกตัญู

               รูคุณของทองแดง สุนัขทรงเลี้ยง ตีพิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2541

                       3.  งานแปล
                         -  ติโต  เปนผลงานแปลชิ้นแรกของพระองค โดยทรงแปลจาก Tito ของ Phyllis Auty ในป พ.ศ.

               2519 เพื่อใหขาราชบริพารไดทราบถึงบุคคลที่นาสนใจคนหนึ่งของโลก ติโตเปนผูที่ทําประโยชนใหประเทศ

               ยูโกสลาเวีย ซึ่งมีประชาชนมาจากหลากหลายชนเผา มีความแตกตางกันทั้งในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม
               และประวัติศาสตร แตสามารถรวมตัวกันไดเปนปกแผนในยามที่ประเทศชาติมีวิกฤติเพื่อรวมกันรักษา

               ความเปนปกแผน และความเจริญของประเทศไว หนังสือติโตนี้วางจําหนาย ในป พ.ศ. 2537

                         -    เศรษฐศาสตรตามนัยของพระพุทธศาสนา
                        นายอินทรผูปดทองหลังพระ เปนงานแปลชิ้นที่สองของพระองคทาน โดยทรงแปลจากหนังสือ

               A Man Called Intrepid ของ William Stevenson ใชเวลาแปลกวา 2 ป จัดพิมพ ในป พ.ศ. 2536

                       4.  งานดานดนตรี
                           ความสนพระราชหฤทัยดานดนตรี

                        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยดนตรีมาตั้งแตยัง

               ทรงพระเยาว ทรงอานหนังสือเกี่ยวกับการดนตรีตั้งแตทรงศึกษาอยูที่ประเทศสวิตเซอรแลนด ทรงไดรับการ
                                                    ฝกฝนตามแบบฉบับการศึกษาวิชาดนตรีอยางแทจริง คือ

                                                    การเขียนโนตและบรรเลงแบบคลาสสิกเครื่องดนตรีที่โปรด คือ
                                                    เครื่องเปาแทบทุกชนิด เชน แซกโซโฟน คลาริเน็ต ทรัมเปต ทั้งยัง

                                                    ทรงกีตารและเปยโน นอกจากนี้ทรงเลนดนตรีรวมกับวงดนตรี

                                                    ไดทุกวงทั้งไทยและตางประเทศ ยังทรงดนตรีไดทั้งชนิดมีโนตและ
                                                    ไมตองมีโนต เมื่อครั้งเสด็จพระราชดําเนินเยือนนครนิวยอรคประเทศ

                                                    สหรัฐอเมริกา เมื่อปพุทธศักราช 2503 นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของ
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110