Page 104 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 104

96



               พระอัจฉริยภาพ

                                เปนที่ทราบกันดีกวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีฝพระหัตถ

               เปนเยี่ยมในดานการชาง ไมวาจะเปนงานชางไม ชางโลหะ หรือชางกล ซึ่งเปนงานพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร
               จึงไดทรงคิดคนสิ่งประดิษฐใหม ๆ เพื่อใชในการพัฒนาประเทศและชวยเหลือประชาชนของพระองค ดังนี้

                        1.    งานดานการประดิษฐ  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงหวงใย

               สภาพแวดลอมตามธรรมชาติที่จําเปนตอการมีชีวิตอยูอยางผาสุกของประชาชนชาวไทยที่เสื่อมโทรมลง
                                                   โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาเรื่องน้ําเสีย ที่นับวันมีเพิ่มมากขึ้นทุกที

                                                   และทําความเสียหายแกแหลงน้ําสะอาดตามธรรมชาติ ทําใหสัตว

                                                   ตาง ๆ เชน กุง หอย ปู ปลา และ อื่น ๆ ที่อยูในแหลงน้ํานั้น  หากไม
                                                   ตายก็เลี้ยงไมโตหรือพิกลพิการจนไมอาจใชบริโภคเปนอาหาร

                                                   ไดอยางปลอดภัย เปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยและความเปนอยู
                                                   ของผูคนอยางรายแรง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-

                                                   อดุลยเดช จึงพระราชทานแนวพระราชดําริวา หากเราสามารถเติม

               ออกซิเจนลงไปในน้ําเสียได  โดยทําเครื่องกลเติมอากาศที่มีขั้นตอนการประดิษฐที่คนไทยสามารถทําไดดวย
               ตนเอง เสียคาใชจายนอย ก็จะชวยแกไขสภาพน้ําเสียได  ดวยพระอัจฉริยภาพดานการประดิษฐ  พระองคทรง

               กําหนดเครื่องตนแบบ และเปนที่มาของ กังหันน้ําชัยพัฒนา นํามาใชในการปรับปรุงคุณภาพน้ําตามสถานที่
               ตาง ๆ ทั่วทุกภูมิภาค

                       2.  งานดานวรรณกรรม   ผลงานดานวรรณกรรมของพระองคมีทั้งพระราชนิพนธที่ทรงแตงและแปล

               ซึ่งมีอยูหลายเรื่องดวยกัน เชน
                         -   พระราชนิพนธเรื่อง“พระราชานุกิจรัชกาลที่ 8 ” ตามคํากราบบังคมทูลขอพระราชทานของ

               หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ซึ่งโปรดเกลาฯใหพิมพพระราชทานในการพระราชกุศล 100 วัน พระบรมศพ

               พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2489
                          พระราชนิพนธเรื่องนี้เปนเรื่องราวกิจวัตรของรัชกาลที่  8  ทั้งในสวนพระองค พระราชกิจและ

               พระราชานุกิจขณะเสด็จประพาสสถานที่ตาง ๆ ทรงใชภาษาที่สั้น กระชับและไดใจความชัดเจน

                         -   พระราชนิพนธเรื่อง “เมื่อขาพเจาจากสยามสูสวิตเซอรแลนด” ไดพระราชทานเปนพิเศษแก
               หนังสือวงวรรณคดี ฉบับเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2490 ใชรูปแบบบันทึกประจําวัน ตั้งแตเสด็จฯ จากประเทศไทย

               เพื่อไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนดชวงกอนเดินทางจากเมืองไทยไปยังตําหนักวิลลาวัฒนา

               ระหวางวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2489 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ซึ่งพระราชนิพนธนี้ทรงพรรณนาความรูสึก
               ของพระองคขณะจากเมืองไทย สะทอนใหเห็นถึงความรัก ความผูกพันและความหวงใยในพสกนิกรของ

               พระองค
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109