Page 99 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 99

91


                        นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ยังมีพระราชดําริหลายประการในการ

               พัฒนาปาไม เชน การสรางภูเขาปา การอนุรักษและพัฒนาปาชายเลน ซึ่งเปนการสรางวงจรของระบบนิเวศ
               ดวยการอนุรักษและขยายพันธุไมปาชายเลน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดําริ

               ใหหาทางปองกันอนุรักษและขยายพันธุเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตนโกงกาง ซึ่งเปนไมชายเลนที่ขยายพันธุคอนขาง

               ยาก  นอกจากการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลนแลว ยังมีพระราชดําริในการอนุรักษและพัฒนา “ปาพรุ”
               ซึ่งเปนปาไมทึบไมผลัดใบประเภทหนึ่ง ซึ่งเหลืออยูเพียงผืนเดียวในภาคใตของประเทศไทย โดยมีลักษณะ

               เดนชัดคือ เปนปาดงดิบที่มีน้ําทวมขังทั่วบริเวณ ประเทศไทยมีพื้นที่ปาพรุที่ใหญที่สุดอยูที่จังหวัดนราธิวาส
               ทําใหมีการจัดตั้งศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองขึ้น และใหดําเนินการพัฒนาพื้นที่พรุใหเกิดประโยชน

               หลายดาน จนปจจุบันปาพรุไดกอใหเกิดประโยชนอยางอเนกประสงค และชวยใหเกิดความสมดุลของระบบ
               นิเวศ ตามพระราชดําริของพระองค


                       การจัดการทรัพยากรดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัย

               ในงานพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและปองกันอุทกภัย  โดยทรงเริ่มตั้งแตฟนฟูที่ภูเขาตนน้ําโดยการ

               ปลูกปาเพื่อการอนุรักษดิน และเพิ่มความชุมชื้นใหแกดินและปาไมในพื้นที่ตาง ๆ ทุกภูมิภาคของประเทศ
                                                               การพัฒนาในเรื่องดินตามพระราชดําริของ

                                                      พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่มี

                                                      ความสําคัญโครงการหนึ่ง คือ การปลูกหญาแฝกปองกัน
                                                      การเสื่อมโทรมและพังทลายของดิน เพราะการชะลางพังทลาย

                                                      ของดินกอใหเกิดการสูญเสียหนาดินที่ประกอบไปดวย
                                                      สารอาหารที่สะสมในดิน รวมทั้งความอุดมสมบูรณจาก

                                                      ธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

               ทรงตระหนักถึงปญหาสภาพปญหาและสาเหตุที่เกิดขึ้น  โดยทรงศึกษาถึงศักยภาพของหญาแฝกที่มีคุณสมบัติ
               พิเศษในการชวยปองกันการชะลางการพังทลายของหนาดินและอนุรักษความชุมชื้นใตดินไว วิธีการปลูกงาย ๆ

               เกษตรกรสามารถดําเนินไดเอง ไมตองดูแลหลังการปลูกมาก
                        การดําเนินการปลูกหญาแฝกตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

               ไดรับการยอมรับจากธนาคารโลกวา “ประเทศไทยทําไดผลอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม” และเมื่อ

               วันที่  25  กุมภาพันธ 2536  International Erosion Control Association (IECA) ไดมีมติใหถวายรางวัล
               The International Erosion Control Association’s  International Merit Award แดพระบาทสมเด็จ-

               พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  ในฐานะที่ทรงเปนแบบอยางในการนําหญาแฝกมาใชในการอนุรักษดินและ

               น้ํา  และเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม  2536  ผูเชี่ยวชาญเรื่องหญาแฝกเพื่อการอนุรักษดินและน้ําแหงธนาคารโลก
               ไดทูลเกลาฯ ถวายแผนเกียรติบัตร  เปนภาพรากหญาแฝกชุบสําริด  เปนรางวัลสดุดีพระเกียรติคุณ (Award

               0f  Recognition)  ในฐานะที่ทรงมุงมั่นในการพัฒนาและสงเสริมการใชหญาแฝกในการอนุรักษดินและน้ํา

               ผลการดําเนินงานหญาแฝกในประเทศไทยไดรับการตีพิมพเผยแพรไปทั่วโลก นอกจากนี้ประเทศไทยยังไดรับ
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104