Page 95 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 95

87


               อิสลาม ศาสนาสิกข ในพระราชอาณาจักรอยางทั่วถึง โดยไดพระราชทานพระราชทรัพยอุปภัมภและบํารุง

               ศาสนาเหลานั้นดวย
                       5.  ดานศิลปวัฒนธรรม

                          ศิลปวัฒนธรรมเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นถึงความเปนมาของบานเมืองที่ประกอบดวยคนหลายชาติพันธุ

               และความเปนชาติ แมวาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจะทรงพระปรีชาสามารถทางดนตรี
               จิตรกรรม และประติมากรรม แตก็ทรงสนพระราชหฤทัยเรื่องศิลปวัฒนธรรมดานอื่น ๆ  และการจัดการ

               ทรัพยากรวัฒนธรรมทุกแขนง รวมทั้งภาษาไทยอันเปนภาษาประจําชาติดวย


                                                           วิสัยทัศนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
                                                   อดุลยเดช ดานการจัดการวัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณและ

                                                   มีประโยชนอยางยิ่งตอการศึกษา สรางความภาคภูมิใจของคน
                                                   ในชาติและความกาวหนาทางเศรษฐกิจ ดังจะเห็นไดจากที่เสด็จ

                                                   ประพาสสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรและโบราณคดี แสดงให

                                                   เห็นความหวงใยสมบัติวัฒนธรรมของชาติ จนมีรับสั่งเตือนสติอยู
               เนือง ๆ ใหชวยกันอนุรักษและนํามาใชใหเกิดประโยชน คือ  การเรียนการสอนใหคนไดรูจักและเขาใจ

               อัตลักษณของบานเมือง ไมควรปลอยใหซื้อขายสมบัติของชาติกันอยางไมถูกตองตามกฎหมาย ไมเชนนั้น

               อาจจะตองไปชมหรือศึกษาของเราที่ตางประเทศ “...ก็ควรเปนเรื่องเศราและนาอับอายมาก...” และ
               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงย้ําเสมอวาประเทศเรามีความเปนมายืนยาวนาน

               “...มีเอกราช มีภาษา ศิลปะและขนบธรรมเนียมเปนของตนเอง...”


                        เรื่องภาษาไทย ทรงเตือนใหตระหนักวาเปนภาษาประจําชาติ  เปนมรดกและสมบัติอันล้ําคาของ
               ประเทศชาติควร “...รักษาไว...” และยกตัวอยางบางประการที่ประสบมา เชน การออกเสียงไมถูกตอง

               สรางประโยคไมถูกตอง และบัญญัติศัพทใหมโดยไมจําเปน ดังมีพระกระแสรับสั่งวา ภาษาไทยเปนสิ่งสําคัญ
               สําหรับบานเมือง


                        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยอยางมากในเรื่อง

               ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และทรงมีบทบาทในการดํารงรักษามรดกไวไมใหสูญหาย

               พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทางดานศิลปวัฒนธรรมของชาติ คือ
               ทรงฟนฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรด พระนังคัลแรกนาขวัญ จึงเปนพระราชพิธีโบราณเพราะประเทศของเรา

               เปนประเทศเกษตรกรรม พระราชพิธีนี้ทําเพื่อความเปนสิริมงคลแดพืชพันธธัญญาหาร และเพื่อบํารุงขวัญ

               กําลังใจแดเกษตรกร ซึ่งเปนประชากรสวนใหญของประเทศ
                        นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ยังทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ

               ใหฟนฟูพระราชพิธีเสด็จพระราชดําเนินถวายผาพระกฐิน โดยทรงขบวนพยุหยาตราทางชลมารค พื้นฟู
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100