Page 100 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 100

92


               เกียรติใหจัดการประชุมสัมมนาหญาแฝกนานาชาติขึ้นที่จังหวัดเชียงราย เพื่อเปนการเทิดพระเกียรติ

               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ป

                        แนวพระราชดําริเรื่องทฤษฎีใหม  แนวพระราชดําริทฤษฎีใหม มีจุดมุงหมายที่จะใหเปนแนวปฏิบัติ
               สําหรับเกษตรกรรายยอยที่มีพื้นที่ทํากินจํากัด เพื่อใหเกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได  โดยเฉพาะใหมีความ

               มั่นคงในเรื่องอาหาร  คือ ใหสามารถผลิตขาวไดอยางพอเพียงตอการบริโภค เหตุที่เรียกวาทฤษฎีใหมเพราะมี
               การบริหารจัดการแบงที่ดินแปลงเล็กออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน เพื่อประโยชนสูงสุดของเกษตรกร

               ซึ่งไมเคยมีใครคิดมากอน มีการคํานวณโดยหลักวิชาการและมีการวางแผนที่สมบูรณแบบสําหรับเกษตร

               รายยอย ดังนี้
                        การจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยและที่ทํากิน ใหแบงพื้นที่ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 :

                                                         10  ซึ่งหมายถึง พื้นที่สวนที่ 1 ประมาณรอยละ 30 ใหขุด
                                                         สระเก็บกักน้ํา เพื่อใชเก็บกักน้ําฝนในฤดูฝน และใชเสริม

                                                         การปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวน้ําและพืชน้ํา

                                                         ตาง ๆ พื้นที่สวนที่ 2  ประมาณรอย 30 ใหปลูกขาวในฤดูฝน
                                                         เพื่อใชเปนอาหารประจําวันสําหรับครอบครัวใหเพียงพอ

                                                         ตลอดป เพื่อตัดคาใชจายและสามารถพึ่งตนเองได พื้นที่

                                                         สวนที่ 3 ประมาณรอยละ 30 ใหปลูกไมผล ไมยืนตน
               พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหารประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย พื้นที่สวนที่  4

               ประมาณรอยละ 10 เปนที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตวและโรงเรือนอื่น ๆ

                           โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
               ทรงคนควาทดลองและวิจัยดานการเกษตรเปนโครงการสวนพระองคมาตั้งแต พ.ศ. 2505 ที่สวนจิตรลดา

               พระราชวังดุสิต ทรงแบงโครงการสวนพระองคในสวนจิตรลดาเปน 2 แบบ คือ โครงการแบบไมใชธุรกิจ และ
               โครงการกึ่งธุรกิจ โครงการแบบไมใชธุรกิจ  เกี่ยวของกับการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร

                                                     โดยทรงใหความสําคัญกับการเพิ่มพูนคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
                                                     ในระยะยาว เพื่อใหเกษตรกรสามารถพึ่งตนเองไดทางดาน

                                                     อาหาร และสนับสนุนใหมีรายไดเพิ่มขึ้นนอกเหนือจากรายได

                                                     จากภาคเกษตร อีกทั้งยังเนนการพัฒนาและอนุรักษ
                                                     ทรัพยากรธรรมชาติดวย เชน นาขาวทดลอง การเลี้ยงปลานิล

                                                     การผลิตแกสชีวภาพ หองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร เพื่อใช

                                                     ตรวจคุณภาพของผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ผลิตจากโครงการ
               สวนพระองคสวนจิตรลดา หองปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อขยายพันธุไม โครงการบําบัดน้ําเสีย และ

               โครงการสาหรายเกลียวทอง ซึ่งนํามาผลิตเปนอาหารปลา
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105