Page 96 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 96

88


               พระราชพิธีเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เพื่อถวายผาพระกฐินแดพระอารมหลวง

               ซึ่งเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองของชาติที่มีสืบตอมาจนปจจุบันนี้
                        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดํารัสอยูเสมอวา โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ

               และโบราณสถานทั้งหลายลวนเปนของมีคา และจําเปนแกการศึกษาคนควาในทางประวัติศาสตร ศิลปะและ

               โบราณคดี เพราะเปนเครื่องแสดงถึงความเจริญรุงเรืองของชาติไทยที่มีมาแตอดีตกาล จึงควรจะสงวนรักษาไว
               ใหคงทนถาวรเปนสมบัติสวนรวมของชาติไวตลอดไป


               พระราชกรณียกิจดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

                        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงงานอยางหนักอยางตอเนื่อง เพื่อยกระดับ

               คุณภาพชีวิตและสภาพความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้นในทุกดาน โดยเฉพาะผูยากไรในชนบท ในการพัฒนา
               คุณภาพชีวิตของราษฎร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมุงเนนเรื่องการเกษตร ซึ่งเปน

               อาชีพหลักของราษฎรทั้งประเทศ โดยทรงใหความสําคัญตอการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เชน
               แหลงน้ํา ดินและปาไม ทรงตระหนักวา น้ําเปนปจจัยสําคัญยิ่งและเปนความตองการอยางมากของราษฎร

               ในชนบท ทั้งการใชอุปโภคและบริโภคและเพื่อการเกษตร ทรงสนพระราชหฤทัยเรื่องการใชที่ดินเพื่อ

               การเกษตรและทรงเนนการพัฒนาที่ดิน รวมทั้งปาไมอันเปนทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญของประเทศ
               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการดานการใช

               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเกิดประโยชนสูงสุดแกราษฏร จนเปนที่ประจักษชัดทั้งภายในประเทศ
               และตางประเทศ แนวพระราชดําริเรื่องทฤษฎีใหม ซึ่งเปนการจัดการทรัพยากรน้ําและที่ดินเพื่อการเกษตร

               เปนแนวพระราชดําริที่ไดรับการยอมรับโดยทั่วไป


                         1.  ดานทรัพยากรธรรมชาติ

                             การจัดการทรัพยากรน้ํา พระราชกรณียกิจดานการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
               มหาภูมิพลอดุลยเดช ที่สําคัญยิ่งคือ งานพัฒนาที่เกี่ยวของกับน้ํา ศาสตรทั้งปวงที่เกี่ยวกับน้ําทั้งการพัฒนา

               การจัดหาแหลงน้ําการเก็บกักน้ํา การระบาย การควบคุม การทําน้ําเสียใหเปนน้ําดี ตลอดจนการแกไขปญหา

               น้ําทวม พระราชกรณียกิจในชวงตน ๆ แหงการเสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคตาง ๆ ของ
               ประเทศ ทรงเนนเรื่องความสําคัญของแหลงน้ําเพื่อใชในการอุปโภคและการเกษตรกรรม ดังพระราชดํารัสที่วา


                            ...หลักสําคัญตองมีน้ําบริโภค น้ําใชเพื่อการเพาะปลูก เพราะวาชีวิตอยูที่นั่น ถามีน้ําคนอยูได ไมมี

               ไฟฟาคนอยูได แตถามีไฟฟา ไมมีน้ํา คนอยูไมได...

                            พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยเรื่องน้ํามาตั้งแตยังทรง
               พระเยาว จึงสงผลใหมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริจํานวนมากที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา นอกจากนี้

               ความสนพระราชหฤทัยเรื่องน้ําของพระองค มิไดจํากัดอยูเฉพาะโครงการพัฒนาแหลงน้ําดวยวิธีการจัดสราง
               แหลงน้ําถาวร ซึ่งอาจจะเปนอางเก็บน้ําหรือฝายใหราษฎรในทองถิ่นตาง ๆ ใหมีน้ําใชโดยไมขาดแคลนเทานั้น
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101