Page 93 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 93

85


               ของประเทศตาง ๆ ที่เสด็จฯ และเดินทางมาเยือนประเทศไทยเปนการตอบแทน และบรรดาพระราชอาคันตุกะ

               ทั้งหลายตางก็ประทับใจในพระราชวงศของไทย
                       2. ดานการพัฒนาสังคม

                         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงพัฒนาสังคมเพื่อใหประชาชน
               มีความเปนอยูที่ดีในหลาย ๆ ดาน ดังนี้

                             3.  ดานการศึกษา

                         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเห็นความสําคัญของการศึกษาวาเปนปจจัย
               ในการสรางและพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของบุคคล การศึกษาจึงเปนการพัฒนาคน

               ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาในทุก ๆ ดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ  สังคม จึงพระราชทานความเกื้อหนุนดานการศึกษา
               ทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน  ตั้งแตชั้นประถมศึกษาไปจนถึงอุดมศึกษา ดังที่มีพระราชดํารัสวา

                         “การศึกษาเปนปจจัยในการสรางและพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของ

               บุคคล สังคมและบานเมืองใดใหการศึกษาที่ดีแกเยาวชนไดอยางครบถวน ลวนพอเหมาะกันทุก ๆ ดานสังคม
               และบานเมืองนั้นจะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ  ซึ่งสามารถธํารงรักษาความเจริญมั่นคงของประเทศชาติไว และ

               พัฒนาใหกาวหนาตอไปไดโดยตลอด”

                         พระราชดํารัสดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงความสําคัญของการศึกษา วาประเทศชาติจะพัฒนา
               ใหเจริญกาวหนาได ก็ดวยการพัฒนาประชาชนในชาติใหมีคุณภาพโดยการใหการศึกษา

                         พระราชกรณีกิจดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เริ่มตั้งแต

               พ.ศ. 2498 โปรดเกลาฯ ใหตั้งโรงเรียนสําหรับพระราชโอรสและพระราชธิดา บุตรขาราชบริพาร ตลอดจน
                                                            บุคคลทั่วไป ๆ ไดมีโอกาสรวมเรียนดวย  คือ โรงเรียน

                                                            จิตรลดา และเมื่อไดเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎร
                                                            และหนวยปฏิบัติการทหารตํารวจตามบริเวณชายแดน

                                                            ทุรกันดาร  ทําใหทรงทราบถึงปญหาการขาดแคลน

                                                            ที่เรียนของเด็กและเยาวชน  พระบาทสมเด็จ
                                                            พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดพระราชทาน

                                                            พระราชทรัพยสวนพระองคเพื่อพัฒนาดานการศึกษา
                                                            โดยการจัดตั้งโรงเรียนสําหรับเยาวชนในทองถิ่น

               ทุรกันดารใน พ.ศ. 2499  นอกจากนี้ยังไดพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองคในการกอสรางโรงเรียน

               พระราชทานนามวาโรงเรียนรมเกลา ซึงเปนโรงเรียนสําหรับเยาวชนในทองถิ่นชนบทหางไกลที่มีความไมสงบจาก
               ภัยตาง ๆ  พระราชทานพระราชทรัพยเพื่อรวมสรางโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน สําหรับชาวไทยภูเขา

               ที่อาศัยอยูในดินแดนทุรกันดารหางไกลการคมนาคม ซึ่งมีชื่อเรียกวา “โรงเรียนเจาพอหลวงอุปถัมภ”  จัดตั้ง

               โรงเรียนราชประชาสมาสัยเพื่อเปนสถานศึกษาอยูประจําสําหรับเยาวชนที่เปนบุตรธิดาของคนไขโรคเรื้อน
               จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะหรวมกับประชาชนเมื่อเกิดวาตภัยในภาคใตที่แหลมตะลุมพุก อําเภอปากพนัง

               จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดใกลเคียง
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98