Page 98 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 98

90


                        นอกจากนี้ แนวพระราชดําริที่สําคัญในการแกไขปญหาน้ําทวมที่สําคัญโครงการหนึ่งของ

               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งเปนโครงการแกไขปญหาน้ําทวมพื้นที่ในเขต
               กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามแนวพระราชดําริคือ “โครงการแกมลิงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ”

               ในพื้นที่ฝงตะวันออกและฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา

                        พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดําริในการพัฒนาทรัพยากรน้ําซึ่งเปน
               เรื่องสําคัญที่สุด จนเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในหมูประชาชนชาวไทยวา ทรงเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องน้ํา และ

               ถือวาเปนงานพัฒนาที่สําคัญยิ่งของพระองค การพัฒนาเรื่องทรัพยากรอันเปนพระราชกรณียกิจที่สําคัญนั้นมีเปน
               จํานวนมาก จนไมอาจกลาวไดอยางครบถวนและดวยพระอัจฉริยภาพดานการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของ

               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัฐบาลไทย จึงไดเทิดพระเกียรติคุณในฐานะที่มีพระมหา-
               กรุณาธิคุณในการพัฒนาทรัพยากรน้ํา โดยถวายพระราชสมัญญาวา “พระบิดาแหงการจัดการทรัพยากรน้ํา”

               เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

               ทรงครองราชยสมบัติครบ 50 ป  ใน พ.ศ. 2539

                         การจัดการทรัพยากรปาไม  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระราช
               หฤทัยและทรงตระหนักถึงความสําคัญของปาไมเปนอยางยิ่ง ทรงหวงในเรื่องปริมาณปาไมที่ลดลง ไดทรง

                                                         คิดคนวิธีการตาง ๆ ที่จะเพิ่มปริมาณปาไมใหมากขึ้น

                                                         พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
                                                         มีพระราชดําริที่จะอนุรักษปาไม ดวยการสรางความสํานึก

                                                         ใหรักปาไมรวมกันมากกวาวิธีการใชอํานาจบังคับ

                                                         ดังพระราชดําริที่พระราชทานใหมีการปลูกตนไม 3 ชนิด
                                                         ที่แตกตางกัน คือ ไมผล ไมโตเร็ว และไมเศรษฐกิจ เพื่อให

                                                         เกิดปาไมแบบผสมผสานและสรางความสมดุลแกธรรมชาติ
               อยางยั่งยืน สามารถตอบสนองความตองการของรัฐและวิถีประชาในชุมชน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-

               ภูมิพลอดุลยเดชไดพระราชทานพระราชดําริเรื่องการปลูกปาหลายประการ เชน การปลูกปาทดแทน การปลูกปา
               ในที่สูง การปลูกปาตนน้ําที่ลําธารหรือการปลูกปาธรรมชาติ และการปลูกปา 3 อยาง ไดประโยชน 4 อยาง

               ดังพระราชดํารัสวา

                        การปลูกปา 3 อยาง แตใหประโยชน 4 อยาง ซึ่งไดไมผล ไมสรางบาน และไมฟนนั้น สามารถให
               ประโยชนไดถึง 4 อยางคือ นอกจากประโยชนในตัวเองตามชื่อแลว ยังสามารถใหประโยชนอันที่ 4 ซึ่งเปนขอ

               สําคัญคือ สามารถชวยอนุรักษดินและตนน้ําลําธารดวย

                        และไดมีพระราชดํารัสเพิ่มเติมถึงการปลูกปา 3 อยาง ไดประโยชน 4 อยางวา
                        ...การปลูกปาถาจะใหราษฎรมีประโยชนใหเขาอยูได ใหใชวิธีปลูกไม 3 อยาง แตมีประโยชน 4 อยาง

               คือ ไมใชสอย ไมกินได ไมเศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน้ํา และปลูกอุดชวงไหล

               ตามรองหวย โดยรับน้ําฝนอยางเดียว ประโยชนอยางที่ 4 คือ ไดระบบอนุรักษดินและน้ํา...
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103