Page 97 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 97

89


               แตยังทรงหาวิธีการจัดหาน้ําชวยเหลือราษฎรในทุกทาง  ดวยเหตุนี้จึงเกิดแนวพระราชดําริเรื่อง “ฝนหลวง”

               ขึ้น ดังมี พระราชดํารัสวา
                       ...แตมาเงยดูทองฟา มีเมฆ ทําไมมีเมฆ อยางนี้ทําไมจะดึงเมฆนี่ใหลงมาได ก็เคยไดยินเรื่องทําฝน ก็มา

               ปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทําได มีหนังสือ เคยอานหนังสือทําได...

                        จากนั้นโครงการ “ฝนหลวง” หรือ “ฝนเทียม” จึงเกิดขึ้นภายใตการพระราชทานคําแนะนําของ
               พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยางใกลชิด โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498

                                                          และไดเริ่มทําฝนเทียมครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม
                                                          พ.ศ. 2512 จากนั้นการคนควาพัฒนาเกี่ยวกับ

                                                          พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก็ได
                                                          กาวหนาขึ้นอยางตอเนื่อง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-

                                                          ภูมิพลอดุลยเดชไดทรงทดลองวิจัยดวยพระองคเอง และ

                                                          พระราชทานทรัพยสินสวนพระองครวมเปนคาใชจาย
                                                          ในที่สุดดวยพระวิริยอุตสาหะเปนเวลาเกือบ 30 ป ดวย

               พระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพ ทําใหสามารถกําหนดบังคับฝนใหตกลงสูพื้นที่เปาหมายได จากฝน

               หลวงที่มุงหวังชวยเหลือเกษตรที่ประสบภัยแลง โดยการชวยแกไขปญหาขาดแคลนน้ําหรือฝนทิ้งชวง และชวย
               ดานการอุปโภคบริโภค รวมทั้งการทําฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณน้ําเหนือเขื่อนภูมิพล เมื่อเกิดภาวะวิกฤติขาด

               แคลนน้ําอยางรุนแรงในชวงหนาแลง


                        การแกไขปญหาน้ําเสีย  แนวพระราชดําริเกี่ยวกับเรื่องน้ําที่สําคัญมีหลายโครงการ เชน เรื่อง “น้ําดี

               ไลน้ําเสีย” ในการแกไขปญหามลพิษทางน้ํา โดยทรงใชน้ําที่มีคุณภาพดีจากแมน้ําเจาพระยาใหชวยผลักดันและ
               เจือจางน้ําเนาเสียใหออกจากแหลงน้ําของชุมชน พระราชดําริบําบัดน้ําเสียโดยหลักการนี้เปนวิธีการที่งาย

               ประหยัดพลังงาน และสามารถปฏิบัติไดตลอดเวลา แสดงใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถและพระวิริยอุตสาหะ
               ที่ทรงปฏิบัติเพื่อประโยชนของราษฎร และยังโปรดเกลาฯ ใหมีการทดลองใชผักตบชวามาชวยดูดซับความ

               สกปรก รวมทั้งสารพิษตาง ๆ จากน้ําเนาเสีย ประกอบกับเครื่องบําบัดน้ําเสียแบบตาง ๆ ที่ไดทรงคิดคน
               ประดิษฐขึ้นโดยเนนที่วิธีการเรียบงาย ประหยัด และไมกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญแกประชาชนในพื้นที่


                        การแกไขปญหาน้ําทวม  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดพระราชทาน

               แนวทางแกไขปญหาน้ําทวมดวยวิธีการตาง ๆ  อยางเหมาะสมในแตละพื้นที่ เชน การกอสรางคันกั้นน้ํา

               การกอสรางทางผันน้ํา การปรับปรุงตกแตงสภาพลําน้ําเพื่อใหน้ําที่ทวมทะลักสามารถไหลไปตามลําน้ําไดสะดวก
               หรือชวยใหกระแสน้ําไหล เร็วยิ่งขึ้น อันเปนการบรรเทาความเสียหายจากน้ําทวมขังได นอกจากนี้ การกอสราง

               เขื่อนเก็บกักน้ําเปนมาตรการการปองกันน้ําทวมที่สําคัญประการหนึ่งในการกักเก็บน้ําที่ไหลทวมลนในฤดู

               น้ําหลาก โดยเก็บไวทางดานเหนือเขื่อนในลักษณะอางเก็บน้ํา เพื่อประโยชนในการเพาะปลูกของพื้นที่ดาน
               ทายเขื่อนในชวงที่ฝนไมตกหรือฤดูแลง เขื่อนเหลานี้มีประโยชนดานการชลประทานเปนหลักและประโยชน

               อื่น ๆ เชน การผลิตไฟฟา การเพาะเลี้ยงปลาและกุงในอางเก็บน้ํา และการบรรเทาน้ําทวม
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102