Page 88 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 88

80


               พระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) ลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวพระราชทานแกประชาชน

               ชาวไทย ถือเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย เรียกชื่อวา “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง
               แผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475”

                       ตอมาในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7)

               พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรและทรงโปรดเกลาฯ แตงตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมีพระยามโนปกรณนิติธาดา
               เปนนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย


               ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475


                        1.  ผลกระทบทางดานการเมือง การเปลี่ยนแปลงสงผลกระทบตอสถานภาพของสถาบัน
               พระมหากษัตริยเปนอยางมาก เพราะเปนการสิ้นสุดพระราชอํานาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ถึงแมวา

               พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) จะทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลง และทรงยินยอม

               พระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยแลวก็ตาม แตพระองคก็ทรงเปนหวงวาประชาชนจะมิไดรับ
               อํานาจการปกครองที่พระองคทรงพระราชทานใหโดยผานทางคณะราษฎรอยางแทจริง พระองคจึงทรงใช

               ความพยายามที่จะขอใหราษฎรไดดําเนินการปกครองประเทศดวยหลักการแหงประชาธิปไตยอยางแทจริง

               แตพระองคก็มิไดรับการสนองตอบจากรัฐบาลของคณะราษฎรแตประการใด จนกระทั่งภายหลังพระองค
               ตองทรงประกาศสละราชสมบัติใน พ.ศ. 2477

                       นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ยังกอใหเกิดความขัดแยงทางการเมืองระหวาง

               กลุมผลประโยชนตาง ๆ ที่มีสวนรวมในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ทั้งนี้เปน
               เพราะยังมีผูเห็นวาการที่คณะราษฎรยึดอํานาจการปกครองมาจากพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว

               (รัชกาลที่ 7) เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญนั้น ยังมิไดเปนไป
               ตามคําแถลงที่ใหไวกับประชาชนนอกจากนี้การที่คณะราษฎรไดมอบหมายใหนายปรีดี พนมยงค รางเคา

               โครงการเศรษฐกิจแหงชาติ เพื่อดําเนินการปรับปรุงเศรษฐกิจของประเทศตามที่ไดประกาศไวเมื่อครั้งกระทํา
               การยึดอํานาจเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้น หลายฝายมองวาเคาโครงการเศรษฐกิจมีลักษณะโนมเอียงไป

               ในทางหลักเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต ความขัดแยงจึงเกิดขึ้นในหมูผูที่เกี่ยวของภายหลังการเปลี่ยนแปลง

               การปกครองสิ้นสุดลงแลวไมนาน พระยามโนปกรณนิติธาดา นายกรัฐมนตรี เห็นวาการบริหารประเทศ
               ทามกลางความขัดแยงในเรื่องเคาโครงเศรษฐกิจไมสามารถจะดําเนินตอไปได จึงประกาศปดสภาและงดใช

               รัฐธรรมนูญบางมาตรา สงผลให พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา นํากําลังทหารยึดอํานาจรัฐบาลพระยามโน

               ปกรณนิติธาดาในวันที่ 20 มิถุนายน 2476 และหลังจากนั้น พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดเขาดํารง
               ตําแหนงนายกรัฐมนตรีบริหารราชการแผนดินสืบแทน แตรัฐบาลของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ไดเขา

               บริหารประเทศไดไมนาน ก็มีบุคคลคณะหนึ่งซึ่งเรียกตนเองวา คณะกูบานกูเมือง นําโดยพลเอกพระองคเจา-

               บวรเดช ไดกอการรัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาลในเดือนตุลาคม 2476 โดยอางวารัฐบาลไดทําการหมิ่นประมาท
               องคพระประมุขของชาติ และรับนายปรีดี พนมยงค เขารวมในคณะรัฐบาล พรอมกับเรียกรองใหรัฐบาล

               ดําเนินการปกครองประเทศในระบอบรัฐธรรมนูญที่เปนประชาธิปไตยอยางแทจริง แตในที่สุดรัฐบาล
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93