Page 87 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 87

79


               วาเปนเพราะความลมเหลวของระบบการปกครองของไทยจึงตองเปลี่ยนระบบการปกครองใหมเพื่อแกไข

               ปญหาเศรษฐกิจ
                      5. ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยมีขอบกพรองหลายประการ ระบอบการปกครอง

               ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชในขณะที่ความคิดและสังคมของชาวไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงไป เชน พระมหากษัตริย

               พระราชวงศและขุนนาง ซึ่งเปนชนชั้นที่ควบคุมอํานาจการปกครองและเศรษฐกิจของประเทศโดยสิ้นเชิง
               ในขณะที่ราษฎรทั่วไปมีฐานะยากจน ไมมีสิทธิ์มีเสียงในการปกครองประเทศ คณะราษฎรจึงมีความคิดที่จะ

               สรางความเสมอภาคในสังคม
                      6. การที่พระมหากษัตริยไทยตั้งแตรัชกาลที่ 4  เปนตนมา ทรงพยายามพัฒนาประเทศเพื่อกาวไปสู

               ความเปนสมัยใหมแบบตะวันตกตลอดจนปลุกความคิดของประชาชนใหตื่นตัวในเรื่องความคิดชาตินิยม
               เทากับเปนการจุดความคิดของประชาชนใหตื่นตัวในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยไปดวย แมวาจะมี

               คณะบุคคลที่ไดรับการศึกษาจากตะวันตกกราบบังคมทูลเสนอแนะใหเปลี่ยนระบบการปกครองมาเปนแบบ

               ประชาธิปไตยก็ตาม แตพระมหากษัตริยไทยทรงเห็นวาประชาชนชาวไทยในขณะนั้นยังไมพรอมที่จะรับการ
               ปกครองแบบใหม ทรงเห็นวาควรตระเตรียมประชาชนใหเขาใจเสียกอน  ดวยวิธีคอยเปนคอยไปนาจะดีกวา

               ในที่สุดก็ไมสามารถหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปได


               การดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครอง


                       การยึดอํานาจของคณะราษฎร เชาตรูของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎร ประกอบดวย

               ทหารบก ทหารเรือและพลเรือน โดยมี พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนา รวมดวย พ.อ. พระยา
               ทรงสุรเดช พ.อ. พระยาฤทธิอัคเนย พ.ท. พระประศาสนพิทยายุทธ  พ.ต. หลวงพิบูลสงครม (แปลก ขีตตะสังคะ)

               น.ต. หลวงสินธุสงครามชัย  น.ต. หลวงศุภชลาศัย  หลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค) นายประยูร
               ภมรมนตรี นายตั้ว ลพานุกรม นายควง อภัยวงศ ฯลฯ ไดนํากําลังทหารและพลเรือนเขายึดอํานาจการ

               ปกครองไดสําเร็จ โดยเขาควบคุมเจานายและขุนนางชั้นสูงมิใหคิดตอตาน จากนั้นจึงกราบบังคมทูลอัญเชิญ
               พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) ซึ่งประทับอยูที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน จังหวัด

               ประจวบคีรีขันธ เสด็จนิวัติพระนครทรงดํารงพระประมุขของชาติภายใตรัฐธรรมนูญ

                       เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) ทรงทราบขาวการยึดอํานาจในพระนครแลว
               พระองค ทรงเชิญเจานายชั้นสูงและแมทัพนายกอง ซึ่งตามเสด็จมายังพระราชวังไกลกังวล เขารวมประชุม

               ปรึกษาหารือวาจะดําเนินการอยางไรกันตอไป ที่ประชุมเสนอความเห็นตาง ๆ กันไป บางทานเสนอใหใชกําลัง

               ทหารในตางจังหวัดยึดอํานาจคืน บางทานเสนอใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) เสด็จหนี
               ไปยังประเทศเพื่อนบาน ในที่สุดพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) ทรงตัดสินพระทัยยอมรับ

               ขอเสนอของคณะราษฎร เพื่อเห็นแกความสงบสุขและความเรียบรอยของบานเมือง

                       พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 7) เสด็จนิวัติถึงพระนคร โดยขบวนรถไฟพระที่นั่ง
               พิเศษ เมื่อตอนดึกของคืนวันที่ 25 มิถุนายน ในตอนสายของวันที่ 26 มิถุนายน คณะราษฎรไดสงผูแทนเขาเฝา ณ

               วังศุโขทัย พรอมกับทูลเกลาฯ ถวายรางรัฐธรรมนูญชั่วคราว วันรุงขึ้นคือวันที่ 27 มิถุนายน พระบาทสมเด็จ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92