Page 82 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 82

74


               ไทยกับการเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1


                       ไทยเขาสูสงครามโลกครั้งที่ 1 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว ในชวงแรกของ

               สงครามไทยไดประกาศตนเปนกลางไมเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง เพื่อรักษาสัมพันธภาพที่ดีไวทั้ง 2 ฝาย กลาวคือ
               ไทยยังมีความสัมพันธอันดีกับอังกฤษมาชานาน ขณะเดียวกันเยอรมนีและ ฝรั่งเศส ก็ยังถือเปนมิตรที่ดีของฝายไทย

                       ตอมาไทยไดเปลี่ยนนโยบายและประกาศสงครามกับฝายเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี หรือเรียกวา

               ฝายมหาอํานาจกลาง (Central  Powers) เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2460 เนื่องจากฝายไทย พิจารณาแลว
               เห็นวา ฝายเยอรมนีเปนฝายที่ละเมิดกฎหมายระหวางประเทศและรุกรานประเทศกอน อีกทั้งสหรัฐอเมริกา

               ไดประกาศสงครามกับเยอรมนีไปกอนหนานี้ ทําใหไทยมั่นใจวาฝายพันธมิตร (Allied Power) จะเปนฝาย

               มีชัยชนะ ถาไทยเขารวมกับฝายพันธมิตรจะสามารถ สรางเกียรติภูมิใหกับประเทศชาติ และจะทําใหประเทศ
               ไทยเปนที่รูจักของประชาคมโลก ซึ่งจะเปนโอกาสของไทย ที่จะเจรจาเรียกรองชาติตะวันตกใหทบทวนแกไข

               สนธิสัญญาที่ไมเปนธรรมกับฝายไทยที่เคยทําไว ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4
                       ดังนั้นในการเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1 เปนเหตุการณที่ไทยไดเขาสูประชาคมนานาชาติ

               พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว จึงทรงใชสัญลักษณและสรางสถาบันเพื่อเปนเครื่องมือ ในการสราง

               ความเปนชาติ และเกียรติภูมิของคนไทยใหปรากฎสูสายตาประชาคมโลก พระองคทรงโปรดเกลาฯใหประดิษฐ
               ธงชาติใหม ในป พ.ศ. 2460 ซึ่งมีลักษณะเปนธง 3 สี ประกอบดวย สีแดง สีขาว สีน้ําเงิน เพื่อเปนเครื่องหมาย

               แทนสถาบันสูงสุดของไทย คือชาติศาสนา และพระมหากษัตริย โดยพระราชทานชื่อวา “ธงไตรรงค” และ
               นําไปใชในหนวยงาน กรม กอง ตาง ๆ เพื่อเปนเครื่องเตือนใจใหคนไทยสํานึกในหนาที่ รักษาชื่อเสียงเกียรติยศ

               ของหมูคณะ

                       หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด ประเทศไทยสามารถเรียกรองชาติตะวันตกตาง ๆ ใหทบทวน
               แกไขสนธิสัญญากับไทยได  โดยเฉพาะสนธิสัญญาที่ไมเปนธรรมระหวางไทยกับเยอรมนีและออสเตรีย ฮังการี

               ประเทศไทยไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาในสมัยประธานาธิบดี วูดโรว วิลสัน (Woodrow  Wilson)

               ในการแกไขสนธิสัญญากับสหรัฐอเมริกา ในฐานะที่เปนประเทศที่มีผลประโยชนไมมากนัก แตเปนมหาอํานาจ
               ที่สําคัญ โดยในป พ.ศ. 2463 รัฐบาลไทยและรัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดทําสนธิสัญญา ซึ่งระบุใหคนในบังคับ

               สหรัฐอเมริกาขึ้นศาลไทย และยกเลิกขอจํากัดทางภาษี โดยใหไทยมีสิทธิ์เต็มที่ในการตั้งพิกัดอัตราภาษีอากร

               สนธิสัญญาไทย - อเมริกัน จึงมีความสําคัญเพราะเปนครั้งแรกที่ไทยไดอิสรภาพ ทางภาษีอากร และมีอํานาจ
               ในทางการศาลเหมือนคนในบังคับตางชาติ โดยไมตองเสียสิ่งใดเปนการตอบแทน ซึ่งทําใหฐานะทางการเมือง

               ระหวางประเทศของไทยดีขึ้นในเวลาตอมา
                       โดยสนธิสัญญาฉบับนี้ยังใชเปนแบบอยางในการแกไขสัญญาที่ไมเปนธรรมที่ชาติตะวันตกในป พ.ศ.

               2467 และ พ.ศ. 2468 ไทยประสบความสําเร็จในการเจรจาแกไขสัญญาไมเปนธรรมกับฝรั่งเศสและอังกฤษ

               โดยอาศัยความสามารถของพระวรวงศเธอ พระองคเจาไตรทศประพันธ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย เสนาบดี
               กระทรวงการตางประเทศในขณะนั้น และ ดร. ฟรานซิส บี แซร ที่ปรึกษาการตางประเทศชาวอเมริกันสามารถ

               แกไขสนธิสัญญาได การเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1 ของไทย จึงเปนการตัดสินใจครั้งสําคัญ มีผลทําใหเกิดการ
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87