Page 77 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 77

69


               พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีแนวความคิดในการปฏิรูปการปกครอง 3 ประการ คือ

                            1. การรวมอํานาจเขาสูสวนกลางมากขึ้นทั้งนี้เพื่อมิใหชาติตะวันตกอางเอาดินแดนไปยึดครองอีก

               ถาอํานาจของรัฐบาลกลางแผไปถึงอาณาเขตใดก็เปนการยืนยันวาเปนอาณาเขตของประเทศไทย

                            2.  การศาลและกฎหมายที่มีมาตรฐานจากการยอมเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในรัชกาลที่ 4

               เปนเพราะประเทศอาณานิคมอางวาศาลไทยไมมีคุณภาพ ไมไดมาตรฐาน ดังนั้น รัชกาลที่  5  จึงทรง

               พระราชดําริที่จะปรับปรุงการศาลยุติธรรมและกฎหมายไทยใหเปนสากลมากขึ้น

                            3.  การพัฒนาประเทศพระองคทรงริเริ่มนําสิ่งใหม ๆ เขามาใชเพื่อพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ

               เชน สรางถนน ขุดคูคลอง จัดใหมีการปกครองไฟฟา ไปรษณีย โทรเลข รถไฟ เปนตน

                        การปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดกอใหเกิดการจัดระเบียบ

               การปกครองที่สําคัญ จําแนกได 3 สวนคือ

                        1.  การปกครองสวนกลาง

                                 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวยังทรงแตงตั้ง "สภาที่ปรึกษาในพระองค" ซึ่งตอมาได


               เปลี่ยนเปน "รัฐมนตรีสภา" ประกอบดวย เสนาบดี หรือผูแทนกับผูที่โปรดเกลาฯ แตงตั้ง รวมกันไมนอยกวา
               12 คนจุดประสงคเพื่อใหเปนที่ปรึกษาและคอยทัดทานอํานาจพระมหากษัตริย แตการปฏิบัติหนาที่ของสภา


               ดังกลาวไมไดบรรลุจุดประสงคที่ทรงหวังไวเพราะสมาชิกสวนใหญไมกลาโตแยงพระราชดําริ คณะที่ปรึกษา
               สวนใหญมักพอใจที่จะปฏิบัติตามมากกวาที่จะแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา


               เจาอยูหัว ยังทรงแตงตั้ง "องคมนตรีสภา" ขึ้นอีก ประกอบดวยสมาชิกเมื่อแรกตั้งถึง 49 คน มีทั้งสามัญชน

               ตั้งแตชั้นหลวงถึงเจาพระยา และพระราชวงศองคมนตรี สภานี้อยูในฐานะรองจากรัฐมนตรีสภา เพราะ

               ขอความที่ปรึกษาและตกลงกันในองคมนตรีสภาแลวจะตองนําเขาที่ประชุมรัฐมนตรีสภากอน จากนั้นจึงเสนอ

               ตอเสนาบดีกระทรวงตาง ๆ

                            การปรับปรุงการบริหารราชการในสวนกลางของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาล

               ที่ 5  คือ ทรงยกเลิกตําแหนงอัครเสนาบดี 2  ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายกรวมทั้งจตุสดมภ

               โดยแบงการบริหารราชการออกเปนกระทรวงตามแบบอารยประเทศและใหมีเสนาบดีเปนผูวาการแตละ

               กระทรวง กระทรวงที่ตั้งขึ้นทั้งหมด เมื่อ พ.ศ. 2435 มี 12 กระทรวง คือ

                         1.  กระทรวงมหาดไทย มีอํานาจหนาที่บังคับบัญชาหัวเมืองฝายเหนือและเมืองลาวทั้งหมด

                         2.  กระทรวงกลาโหม มีอํานาจหนาที่บังคับบัญชาหัวเมืองฝายใต หัวเมืองฝายตะวันออก ตะวันตก

               และหัวเมืองมลายู ประเทศราช  ตอมา พ.ศ. 2437 กระทรวงกลาโหมทําหนาที่บังคับบัญชาฝายทหารอยาง


               เดียว  สวนการปกครองหัวเมืองทั้งหมดอยูในความควบคุมดูแลของกระทรวงมหาดไทย
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82