Page 72 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 72

64


                          บริษัทอิสตอินเดียของอังกฤษ  ทําใหเกิดเปนปฏิปกษกับชาวอินเดีย  ทั้งที่เปนมุสลิมและฮินดู

               เพราะบทเรียนเชนนี้ พอคาชาวอังกฤษจึงไมปรารถนาจะใหเรื่องศาสนามาเปนอุปสรรคในการทําธุรกิจการคา
               ที่สําคัญคือ ชาวอังกฤษเองกลับเปนผูสนับสนุนชาวอินเดียไมวาจะเปนมุสลิมหรือฮินดูในการตอสูกับพอคา

               ตางศาสนา

                          แมจะเขามาสูอินเดียหลังชาติอื่น  แตอังกฤษกลับประสบความสําเร็จอยางรวดเร็วและมากกวา
               ชาติอื่น ภายในเวลาไมนาน บริษัทอิสตอินเดียของอังกฤษ ก็สามารถจัดตั้งศูนยการคาของตัวเองไดตามเมืองทา

               สําคัญ นับตั้งแตแถบตะวันตกที่เมืองสุรัต บอมเบย มาจนถึงแถบตะวันออก คือ มัทราส และกัลกัตตา ทั้งนี้ก็ดวย
               ความชวยเหลือจากเจาผูครองนครตางๆ

                          เมื่อมาถึงชวงกลางคริสตศตวรรษที่ 18 เปนชวงที่อํานาจปกครองรวมศูนยโดยกษัตริยมุสลิมเริ่ม
               เสื่อมลง เปนโอกาสใหพอคาชาวอังกฤษมีโอกาสเขาไปแทรกแซงดวยการชวยเหลือฝายใดฝายหนึ่งที่มีความ

               ขัดแยงกัน จนในที่สุดบริษัทอิสตอินเดียก็มีอิทธิพลเหนือเจาผูปกครองเหลานั้น และนําไปสูการมีอํานาจเหนือ

               แผนดินอินเดียในเวลาตอมา
                          ลวงมาถึงศตวรรษที่ 19 ประเทศอินเดียทั้งหมดก็ตกอยูภายใตอิทธิพลของอังกฤษ นั่นคือ บางสวน

               เปนเขตปกครองของอังกฤษโดยตรง เรียกวา บริทิช ราช (British Raj) เขตปกครองโดยตรงนี้มีประมาณ 3 ใน 5

               ของอินเดียทั้งหมด สวนที่เหลือเปนการปกครองโดยมหาราชาผูครองนคร ที่แตกแยกเปนแควนเล็กแควนนอย
               ที่แมจะปกครองตนเองไดแตก็ตกอยูภายใตอํานาจของอังกฤษ กลาวคือ ไมสามารถปฏิเสธอํานาจของอังกฤษได

                          ชวงประมาณ 100 ป ตั้งแตตนศตวรรษที่ 19 ถึงตนศตวรรษที่ 20 เปนรอยปแหงความเปนไปของ

               อินเดีย ที่ถูกกําหนดทิศทางโดยผูปกครองชาวอังกฤษ อินเดียที่แตกเปนแควนเล็ก แควนนอยมานานหลายรอยป
               ถูกเชื่อมโยงใหติดกันเปนหนึ่งเดียว ดวยระบบทางรถไฟและการสื่อสารไปรษณียที่อังกฤษจัดสรางขึ้นบนแผนดิน

               อินเดีย
                          นับตั้งแตชวงตนศตวรรษที่ 20 มา จนถึงชวงไดรับอิสรภาพในชวงกลางศตวรรษ กระบวนการ

               เรียกรองเอกราชจากการปกครองของอังกฤษก็ทวีรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุด อินเดียสามารถประกาศเอกราช

               ไดสําเร็จ ผูนํา คือมหาตมะคานธีทที่ตอตานอังกฤษดวยวิธีการ “อหิงสา” ซึ่งเปนวิธีการสงบสันติ  พรอม ๆ กับ
               การแตกอินเดียออกเปนฮินดูสถาน (เขตประเทศชาวฮินดู) และปากีสถาน (เขตประเทศชาวมุสลิม)


               การทําสนธิสัญญาเบาวริ่ง  พ.ศ. 2398  (Bowring Treaty, 1855) ในสมัยรัชกาลที่ 4


                       ในชวง พ.ศ. 2398 เปนชวงที่ภูมิภาคเอเชียตองเผชิญกับการคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยม โดยชาติ

               มหาอํานาจตะวันตกไดใชนโยบายเรือปน คือ การใชกองกําลังทหารเรือเขายึดครองประเทศหรือดินแดน

               ที่ออนแอกวา นโยบายเรือปนเปนที่นิยมใชของมหาอํานาจทางตะวันตก โดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศสและ
               ประเทศอังกฤษ ซึ่งขณะนั้นไดขยายอํานาจมาทางเอเชียใตและเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยไดใชอํานาจทาง

               ทะเล คือ เรือรบที่มีปนใหญที่ทันสมัยพรอมกําลังทหารประจําเรือเขายึดครอง โดยอังกฤษยึดครองอินเดีย พมา
               มลายู สวนฝรั่งเศสเขายึดครองเวียดนาม ลาว และกัมพูชา และตอมาฝรั่งเศสไดพยายามใชนโยบายเรือปนเขา

               ยึดครองประเทศไทย ทําใหไทยตองเสียดินแดนบางสวนไปใน รศ. 112 (พ.ศ. 2423) โดยฝรั่งเศสไดสงเรือปน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77