Page 70 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 70

62


               เรื่องที่ 2 เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย

                       2.1 ยุคลาอาณานิคม
                          ยุคลาอาณานิคมเกิดขึ้นเนื่องจากประเทศทางโลกตะวันตก ไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส

               ฮอลันดา ฯลฯ พยายามขยายอาณานิคมของตนเองไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศในแถบทวีป

               เอเชีย เปนประเทศเปาหมายสําคัญที่ประเทศมหาอํานาจเหลานี้เดินทางมาเพื่อลาเปนเมืองขึ้น ทั้งประเทศ
               อินเดีย พมา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ลาว เวียดนาม เปนตน ในบทนี้จะกลาวถึงประเทศที่ถูกยึดเปนอาณานิคม

               พอเปนสังเขปดังนี้

                          ประเทศพมาตั้งอยูในเขตพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีระบบการปกครองที่มอบอํานาจใหแก
               กษัตริยและขุนนางซึ่งเปนเพียงกลุมคนจํานวนนอยในสังคม  สวนไพรและทาสซึ่งเปนคนสวนใหญและมี

               หลากหลายชาติพันธุจะมีหนาที่ในการสงสวยหรือใชแรงงานแกรัฐตามกลไกระบบศักดินา

                          หลังสงครามอังกฤษกับพมาครั้งที่  3  สิ้นสุด  พระเจาธีบอและมเหสีก็ถูกเนรเทศ  อังกฤษก็ได
               ผนวกพมาเขากับอินเดียทําใหระบบการปกครองของพมาลมเหลว ขุนนางขาดแหลงอางอิง ในการใชอํานาจ

               ที่ชอบธรรม พระราชวังมัณฑะเลยกลายเปนศูนยกลางรวมกองบัญชาการทหาร นอกจากนั้นอังกฤษยังทําการ
               เลิกระบบไพรและทาสดวย

                          ขุนนางของพมาจํานวนมากยอมใหความรวมมือกับอังกฤษและตอมาไมนานก็ถูกระบบของอังกฤษ

               ดูดกลืน หลังจากนั้นอังกฤษก็ไดขึ้นมาเปนชนชั้นปกครองของพมา พมาไดถูกสรางภาพลักษณใหมใหซึมซาบถึง
               ทุกชนชั้น ซึ่งนักศึกษาสวนใหญเชื่อวาพมาสมัยใหมเปนผลผลิตของอังกฤษ

                          ICS  เปนกลุมนักบริหารอาณานิคม  ที่เกิดจากการคัดเลือกซึ่งจะทํางานอยูในอินเดียและพมา
               เจาหนาที่ 1 คน ตองรับผิดชอบคนราว 300,000 คน ทําใหคอนขางทํางานหนัก การทํางานของ ICS จําเปน

               จะตองปฏิสัมพันธกับคนพื้นเมือง เชน ในพมา แตดวยความที่มีอคติมองวาชาวพมาเปนชนชั้นที่ต่ําตอยจึงทําให

               ICS สวนใหญไมสนใจที่จะเรียนรูเกี่ยวกับพื้นเมืองพมามากนัก ทําให ICS และคนพื้นเมืองพมาคอนขางที่จะเกิด
               ความรูสึกแปลกแยกทั้งจากเชื้อชาติเดียวกันและตางเชื้อชาติ

                          การปกครองของอังกฤษในดานการเก็บภาษี โดยเฉพาะสวยที่รัฐบาลเรียกเก็บรายบุคคลทําใหภาวะ

               ราคาขาวตกต่ําจนชาวพมาเกิดความกดดันและนําไปสูการตอตานเกิดกบฏหยาซาน แตการเกิดความขัดแยงนั้น
               อังกฤษมองวาเปนการกระทําที่เกิดจากไสยศาสตร ความคิดแบบจารีต ไมไดกลาววาเปนการเกิดจากปญหาสังคม

               - เศรษฐกิจ

                          ครั้นถึงชวงปลายพุทธศตวรรษที่  24  ตอชวงตนพุทธศตวรรษที่  25  ประเทศฝรั่งเศสเริ่มให
               ความสนใจที่จะขยายอํานาจเขามาสูดินแดนในแถบลุมแมน้ําโขง  เพื่อหาทางเขาถึงดินแดนตอนใตของจีน

               เพื่อเปดตลาดการคาแหงใหมแขงกับอังกฤษ ซึ่งสามารถยึดพมาไดกอนหนานั้นแลว โดยฝรั่งเศสเริ่มจากการ
               ยึดครองแควนโคชินจีนหรือเวียดนามใตกอนในป พ.ศ. 2402 รุกคืบเขามาสูดินแดนเขมรสวนนอก

                          ซึ่งไทยปกครองในฐานะประเทศราชในป พ.ศ. 2406 (ไทยตกลงยอมสละอํานาจเหนือเขมรสวนนอก
               อยางเปนทางการในป  พ.ศ.  2410)  จากนั้นจึงไดขยายดินแดนในเวียดนามตอจนกระทั่งสามารถยึดเวียดนาม
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75