Page 65 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 65

57


                          ยุคโดะฮง ซึ่งตั้งชื่อตามสุสานที่นิยมสรางขึ้นกันในยุคดังกลาวเริ่มตนตั้งแตประมาณ พุทธศตวรรษ

               ที่ 9 จนถึง 12 เปนยุคที่ญี่ปุนเริ่มมีการปกครองแบบราชวงศ ซึ่งศูนยกลางการปกครองนั้นอยูบริเวณเขตคันไซ
               ในยุคนี้พระพุทธศาสนาไดเขามาจากคาบสมุทรเกาหลีสูหมูเกาะญี่ปุนไดรับอิทธิพลมาจากจีนเปนหลัก เจาชาย

               โชโตะกุทรงสงคณะราชทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีน ญี่ปุนจึงไดรับนวัตกรรมใหม ๆ จากจีน นอกจากนี้ยังทรง

               ตรารัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา ซึ่งเปนกฎหมายญี่ปุนฉบับแรกอีกดวย และในที่สุดพระพุทธศาสนาก็ไดรับการ
               ยอมรับมากขึ้นตั้งแตสมัยอะซึกะ ซึ่งตั้งชื่อตามสุสานที่นิยมสรางขึ้นกันในยุคดังกลาวเริ่มตนตั้งแตประมาณพุทธ-

               ศตวรรษที่ 9 - 12 เปนยุคที่ญี่ปุนเริ่มมีการปกครองแบบราชวงศ ซึ่งศูนยกลางการปกครองนั้นอยูบริเวณเขต
               คันไซ ในยุคนี้พระพุทธศาสนาไดเขามาจากคาบสมุทรเกาหลีสูหมูเกาะญี่ปุน แตพระพุทธรูปและพุทธศาสนา

               ในประเทศญี่ปุนหลังจากนั้นไดรับอิทธิพลจากจีนเปนหลัก  เจาชายโชโตะกุทรงสงคณะราชทูตไปเจริญ
               สัมพันธไมตรีกับจีน ญี่ปุนจึงไดรับนวัตกรรมใหมๆ จากแผนดินใหญมาเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ยังทรงตรา

               รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา ซึ่งเปนกฎหมายญี่ปุนฉบับแรกอีกดวยและในที่สุดพระพุทธศาสนาก็ไดรับการยอมรับ

               มากขึ้นตั้งแตสมัยอะซึกะ
                          ยุคนะระ  (พ.ศ. 1253 - 1337) เปนยุคแรกที่มีการกอตัวเปนอาณาจักรที่เขมแข็ง มีการปกครองอยางมี

               ระบบใหเห็นไดอยางชัดเจน โดยการนําระบอบการปกครองมาจากจีนแผนดินใหญ ศูนยกลางการปกครอง

               ในขณะนั้นก็คือเฮโจเคียวหรือจังหวัดนะระในปจจุบัน  ในยุคนะระเริ่มพบการเขียนวรรณกรรม  เชน  โคจิกิ
               (พ.ศ.1255) และนิฮงโชะกิ (พ.ศ. 1263) เมืองหลวงถูกยายไปที่นะงะโอกะเกียว เปนชวงเวลาสั้น ๆ และถูก

               ยายอีกครั้งไปยังเฮอังเกียว ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของยุคเฮอัง

                          ระหวาง  พ.ศ.  1337  จนถึง  พ.ศ.  1728  ซึ่งเปนยุคเฮอังนั้น  ถือไดวาเปนยุคทองของญี่ปุน
               เนื่องจากเปนยุคสมัยที่วัฒนธรรมของญี่ปุนเองเริ่มพัฒนาขึ้น สิ่งที่เห็นไดอยางชัดมากที่สุด คือการประดิษฐ

               ตัวอักษร ฮิรางานะ ซึ่งทําใหเกิดวรรณกรรมที่แตงโดยตัวอักษรนี้เปนจํานวนมาก เชน ในชวงกลางพุทธศตวรรษที่
               16 ไดมีการแตงนวนิยายเรื่องนิทานเกนจิขึ้น ซึ่งเปนนิยายที่บรรยายเกี่ยวกับการใชชีวิต การปกครองของ

               ตระกูลฟุจิวาระ  และบทกลอนที่ถูกใชเปนเนื้อเพลงของเพลงชาติญี่ปุน  คิมิงะโยะ  ก็ถูกแตงขึ้นในชวงนี้

               เชนเดียวกัน
                          ยุคศักดินา  ญี่ปุนเริ่มตนจากการที่ผูปกครองทางการทหารเริ่มมีอํานาจขึ้น พ.ศ.1728 หลังจาก

               การพายแพของตระกูลไทระ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ไดแตงตั้งตนเองเปนโชกุน และสรางรัฐบาลทหาร
               ในเมืองคะมะกุระ  ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของยุคคะมะกุระ  ซึ่งมีการปกครองแบบศักดินา  แตรัฐบาลคามากุระ

               ก็ไมสามารถปกครองทั้งประเทศได เพราะพวกราชวงศยังคงมีอํานาจอยูในเขตตะวันตก หลังจากการเสียชีวิต

               ของโชกุน โยริโตโมะ ตระกูลโฮโจ ไดกาวขึ้นมาเปนผูสําเร็จราชการใหโชกุน รัฐบาลคะมะกุระสามารถตอตาน
               การรุกรานของจักรวรรดิมองโกลใน พ.ศ. 1817 และ พ.ศ. 1824 โดยไดรับความชวยเหลือจากพายุกามิกาเซ

               ซึ่งทําใหกองทัพมองโกลประสบความเสียหายมาก

                          อยางไรก็ตาม รัฐบาลคะมะกุระก็ออนแอลงจากสงครามครั้งนี้ จนในที่สุดตองสูญเสียอํานาจใหแก
               จักรพรรดิโกไดโกะ ผูซึ่งพายแพตออะชิกะงะ ทากาอุจิ ในเวลาตอมาไมนานอาชิกางะ ทากาอุจิ ยายรัฐบาล

               ไปตั้งไวที่มิโรมะจิ จังหวัดเกียวโต จึงไดชื่อวายุคมุโรมะจิ ในชวงกลางพุทธศตวรรษที่ 20 อํานาจของโชกุน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70