Page 62 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 62

54


               อองซานมีนโยบายสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

               และตองการเจรจากับรัฐบาลอังกฤษโดยสันติวิธี
               จึงทําใหเกิดความขัดแยงกับฝายนิยมคอมมิวนิสตในพรรค

               AFPEL อองซานและคณะรัฐมนตรีอีก 6 คน

               จึงถูกลอบสังหาร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490
               ขณะเดินทางออกจากที่ประชุมสภา ตอมาตะขิ้นนุหรืออูนุ

               ไดขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีแทนและมีการประกาศใช
               รัฐธรรมนูญเมื่อวันที่  17  ตุลาคม  2490  โดยอังกฤษได

               มอบเอกราชใหแกพมาแตยังรักษาสิทธิทางการทหารไว
               จนกระทั่งในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 อังกฤษจึงได

               มอบเอกราชใหแกพมาอยางสมบูรณ

                       ปจจุบันประเทศพมาปกครองในคณะรัฐบาลทหารที่มาจากการเลือกตั้ง และยังมีปญหาการสูรบกันใน
               ชนเผานอยอยูตลอดเวลา

                       1.5  ประวัติศาสตรสังเขปของประเทศอินโดนีเซีย

                          อินโดนีเซีย  (Indonesia)  หรือชื่อทางการคือ  สาธารณรัฐอินโดนีเซีย    (Requblic  of  Indonesia)
               เปนหมูเกาะที่ใหญที่สุดในโลก  ตั้งอยูระหวางคาบสมุทรเอเชียตะวันออกเฉียงใตและทวีปออสเตรเลียและ

               ระหวางมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอรเนียว (อินโดนีเซีย :

               กาลิมันตัน), ประเทศปาปวนิวกินีบนเกาะนิวกินี (อินโดนีเซีย : อิเรียน) และประเทศติมอรตะวันออกบนเกาะ
               ติมอร

                          อินโดนีเซียประกอบดวยหมูเกาะที่มีความเจริญรุงเรืองมาชานาน แตตอมาตองตกอยูภายใตการ
               ปกครองของเนเธอรแลนดอยูนานประมาณ 300 ป ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเปนชวงสงครามโลกครั้งที่

               2 ญี่ปุนบุกอินโดนีเซีย และทําการขับไลเนเธอรแลนดเจาอาณานิคมของอินโดนีเซียออกไปไดสําเร็จ จึงทําให

               ผูนําอินโดนีเซียคนสําคัญ ๆ  ในสมัยนั้นใหความรวมมือกับญี่ปุน  แตไมไดใหความไววางใจกับญี่ปุนมากนัก
               เพราะมีเหตุเคลือบแคลง คือ เมื่อมีผูรักชาติชาวอินโดนีเซียจัดตั้งขบวนการตาง ๆ ขึ้นมา ญี่ปุนจะขอเขารวม

               ควบคุมและดําเนินงานดวย
                          เมื่อญี่ปุนแพสงครามและประกาศยอมจํานนตอฝายพันธมิตร อินโดนีเซียไดถือโอกาสประกาศ

               เอกราชในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 แตเนเธอรแลนดเจาอาณานิคมเดิมไมยอมรับการประกาศเอกราช

               ของอินโดนีเซีย จึงยกกองทัพเขาปราบปราม ผลจากการสูรบปรากฏวาเนเธอรแลนด ไมสามารถปราบปราม
               กองทัพของชาวอินโดนีเซียได  อังกฤษซึ่งเปนพันธมิตรกับเนเธอรแลนดจึงเขามาชวยไกลเกลี่ย  เพื่อใหยุติ

               ความขัดแยงกัน โดยใหทั้งสองฝายลงนามในขอตกลงลิงกัดยาติ (Linggadjati Agreement) เมื่อ พ.ศ. 2489

               โดยเนเธอรแลนดยอมรับอํานาจของรัฐบาลอินโดนีเซียในเกาะชวาและ  สุมาตรา ตอมาภายหลังเนเธอรแลนด
               ไดละเมิดขอตกลง โดยไดนําทหารเขาโจมตีอินโดนีเซีย ทําใหประเทศอื่นๆ เชน ออสเตรเลียและอินเดีย ไดยื่น

               เรื่องใหคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติ เขาจัดการ สหประชาชาติไดเขาระงับขอพิพาท โดยตั้ง
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67