Page 60 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 60

52


                       ในชวงระยะเวลานี้  ไดมีการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญเกิดขึ้นในภูมิภาค  ชาวไทใหญมีกําลังเขมแข็ง

               เปนอยางมากทางตอนเหนือ การเมืองภายในอาณาจักรอยุธยาเกิดความไมมั่นคง ในขณะที่โปรตุเกสไดเริ่มมี
               อิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและสามารถเขาครอบครองมะละกาได ในการเขามาของบรรดา

               พอคาชาวยุโรป พมากลายเปนศูนยกลางทางการคาที่สําคัญอีกครั้งหนึ่ง การที่พระเจาตะเบงชะเวตี้ไดยายเมือง

               หลวงมาอยูที่เมืองหงสาวดี เหตุผลสวนหนึ่งก็เนื่องดวยทําเลทางการคา พระเจาบุเรงนอง (ทรงครองราชย
               พ.ศ. 2094 - 2124) ซึ่งเปนพระเทวัน (พี่เขย) ของพระเจาตะเบงชะเวตี้ ไดเสด็จขึ้นครองราชยสืบตอจาก

               พระเจาตะเบงชะเวตี้ และสามารถเขาครอบครองอาณาจักรตางๆ รายรอบได อาทิ มณีปุระ (พ.ศ. 2103)
               อยุธยา (พ.ศ.  2112)  การทําสงครามของพระองคทําใหพมามีอาณาเขตกวางใหญไพศาลที่สุด  อยางไรก็ตาม

               ทั้งมณีปุระและอยุธยาตางก็สามารถประกาศตนเปนอิสระไดภายในเวลาตอมาไมนาน
                       เมื่อตองเผชิญกับการกอกบฏจากเมืองขึ้นหลายแหง ประกอบกับการรุกรานของโปรตุเกส กษัตริยแหง

               ราชวงศตองอูจําเปนตองถอนตัวจากการครอบครองดินแดนทางตอนใต โดยยายเมืองหลวงไปอยูที่เมืองอังวะ

               พระเจาอะนอกะเพตลุน (Anaukpetlun) พระนัดดาของพระเจาบุเรงนอง สามารถรวบรวมแผนดินพมาใหเปน
               อันหนึ่งอันเดียวกันอีกครั้งในพุทธศักราช 2156 พระองคตัดสินใจ  ที่จะใชกําลังเขาตอตานการรุกรานของ

               โปรตุเกส พระเจาธารุน (Thalun) ผูสืบทอดราชบัลลังกไดฟนฟูหลักธรรมศาสตรของอาณาจักรพุกามเกา

               แตพระองคทรงใชเวลากับเรื่องศาสนามากเกินไป  จนละเลยที่จะใสใจตออาณาเขตทางตอนใต  ทายที่สุด
               หงสาวดีที่ไดรับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสซึ่งตั้งมั่นอยูในอินเดีย ก็ไดทําการประกาศเอกราชจากอังวะ จากนั้น

               อาณาจักรของชาวพมาก็คอยๆ ออนแอลงและลมสลายไปในปพุทธศักราช 2259 จากการรุกรานของชาวมอญ

                       ราชวงศอลองพญา
                       ราชวงศอลองพญา ไดรับการสถาปนาขึ้นและสรางความเขมแข็งจนถึงขีดสุดไดภายในเวลาอันรวดเร็ว

               อลองพญาซึ่งเปนผูนําที่ไดรับความนิยมจากชาวพมา ไดขับไลชาวมอญที่เขามาครอบครองดินแดนของชาวพมา
               ไดในป พ.ศ. 2296 จากนั้นก็สามารถเขายึดครองอาณาจักรมอญได อีกครั้งในป พ.ศ. 2302 ทั้งยังสามารถกลับ

               เขายึดครองกรุงมณีปุระ ไดในชวงเวลาเดียวกัน พระองคสถาปนาใหเมืองยางกุงเปนเมืองหลวงในป พ.ศ. 2303

               หลังจากเขายึดครองตะนาวศรี (Tenasserim) พระองคไดยาตราทัพเขารุกรานอยุธยา แตตองประสบความ
               ลมเหลวเมื่อพระองคทรงสวรรคตในระหวางสงคราม พระเจาสินบูหชิน (Hsinbyushin , ครองราชย พ.ศ.

               2306  -  2319)  พระราชโอรส  ไดนําทัพเขารุกรานอาณาจักรอยุธยาอีกครั้งในป  พ.ศ.  2309  และประสบ
               ความสําเร็จในปถัดมา ในรัชสมัยนี้ แมจีนจะพยายามขยายอํานาจเขาสูดินแดนพมา แตพระองคก็สามารถยับยั้ง

               การรุกรานของจีนไดทั้งสี่ครั้ง  (ในชวงป  พ.ศ.  2309  -  2312)  ทําการขยายพรมแดนของจีนทางดานนี้

               ถูกยุติลง ในรัชสมัยของพระเจาโบดอ-พญา (Bodawpaya ครองราชย พ.ศ. 2324 - 2362) พระโอรส
               อีกพระองคของพระเจาอลองพญา พมาตองสูญเสียอํานาจที่มีเหนืออยุธยาไป แตก็สามารถผนวกดินแดนยะไข

               (Arakan) และตะนาวศรี (Tenasserim) เขามาไวได  ในชวงเดือนมกราคมของป พ.ศ. 2366  ซึ่งอยูในรัชสมัย

               ของพระเจาบาคยีดอว (Bagyidaw) ขุนนางชื่อมหาพันธุละ (Maha Bandula) เขารุกรานแควนอัสสัมไดสําเร็จ
               ทําใหพมาตองเผชิญหนาโดยตรงกับอังกฤษที่ครอบครองอินเดียอยูในขณะนั้น
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65