Page 55 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 55

47


               อาคเนย ซึ่งเปนถิ่นที่อยูของชนชาติมอญ-เขมร  ความจําเปนในการสรางบานเรือนก็เริ่มมีขึ้นจนพัฒนาตอมา

               เปนเมืองเกษตรกรรม และตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณหุบเขาและที่ราบลุมภายใตอํานาจของอาณาจักรเขมร
                       ตอมาในป พ.ศ.1896 พระเจาฟางุม ทรงทําสงครามตีเอานครเวียงจันทน หลวงพระบางหัวเมืองพวน

               ทั้งหมด ตลอดจนหัวเมืองอีกหลายแหงในที่ราบสูงโคราชเขารวมเปนอาณาจักรเดียวกันภายใต การชวยเหลือ

               ของกษัตริยเขมร กอตั้งเปนอาณาจักรลานชางขึ้นบนดินแดนที่ตั้งอยูกึ่งกลางระหวางลุมแมน้ําโขงกับเทือกเขา
               อันหนํา มีศูนยกลางอยูที่เมืองเชียงดง-เชียงทอง เปนอาณาจักรที่รุงเรืองในทุกดาน หลังจากสถาปนาเมืองเชียง

               ดง-เชียงทองแลว พระเจาฟางุมทรงรับพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ จากราชสํานักเขมรมาเปนศาสนาประจําชาติ
               และไดอัญเชิญพระบางเปนพระพุทธรูปศิลปะสิงหลจากราชสํานักเขมรมายังลานชาง เจาฟางุมทรงเปลี่ยนชื่อ

               เปน “เมืองหลวงพระบาง”
                       เมื่อพระเจาฟางุมสิ้นพระชนม พระยาสามแสนไทไตรภูวนาถ โอรสของพระเจาฟางุมไดขึ้นครองราชย

               อาณาจักรลานชางเริ่มเสื่อมลง เพราะสงครามแยงชิงอํานาจและเกิดกบฏตาง ๆ นานนับ รอยป จนถึง พ.ศ. 2063

               พระโพธิสารราชเจาเสด็จขึ้นครองราชย และรวบรวมแผนดินขึ้นใหมใหเปนปกแผน ทรงโปรดใหยายเมืองหลวง
               ของอาณาจักรลานชางไปอยูที่เมืองเวียงจันทน เพื่อใหไกลจากการรุกรานของสยาม และสรางความเจริญใหกับ

               อาณาจักรลานชางเปนอยางมากและทรงมีสายพระเนตรยาวไกล ทรงโปรดใหพระเจาไชยเชษฐาธิราชพระราช

               โอรสไปครองอาณาจักรลานนา เพื่อเปนการคานอํานาจพมา ครั้นเมื่อพระเจาโพธิสารราชเจาเสด็จสวรรคต
               พระเจาไชยเชษฐาธิราชเสด็จกลับมาลานชาง และทรงอัญเชิญ พระแกวมรกตจากเชียงใหมไปยังเวียงจันทน

               ในรัชสมัยของพระองคพระพุทธศาสนาทรงมีความเจริญรุงเรืองมาก ทรงสรางวัดพระธาตุหลวง หรือที่เรียกวา

               “พระธาตุเจดียโลกจุฬามณี” และสรางวัดพระแกวขึ้นเพื่อประดิษฐานพระแกวมรกต
                       หลังแผนดินพระเจาไชยเชษฐาธิราช อาณาจักรลานชางมีกษัตริยปกครองสืบตอกันมาหลายรัชกาล

               เจริญสูงสุดในรัชกาลพระเจาสุริยวงศาธรรมิกราช ถือวาเปนยุคทองแหงอาณาจักรลานชาง พระองคทรงเปน
               กษัตริยที่ตั้งมั่นอยูในทศพิธราชธรรมและเปนที่นับถือของประชาชน หลังสมเด็จพระเจาสุริยวงศาธรรมิกราช

               สวรรคตแลว ลานชางแตกออกเปน 3 อาณาจักร คือ อาณาจักรลานชาง  หลวงพระบาง อาณาจักรลานชาง

               เวียงจันทน และอาณาจักรลานชางจําปาศักดิ์ โดยตกอยูภายใตการยึดครองของประเทศเพื่อนบาน รวมทั้ง
               จีน เวียดนาม และสยาม กองทัพสยามพิชิตหัวเมืองลาวตอนเหนือลงได จึงไดผนวกหลวงพระบางเขาเปน

               ดินแดนสวนหนึ่งของตน  ราชวงศเหวียนของเวียดนามแผอํานาจยึดครองลาวทางตอนกลางของแมน้ําโขง
               รอบ ๆ นครเวียงจันทน จนถึง   พ.ศ. 2322 กองทัพสยามเขายึดครองแผนดินลานชางที่แตกแยกออกเปน 3

               อาณาจักรไดทั้งหมด ครั้นถึงป พ.ศ. 2365 เจาอนุวงศ  แหงเวียงจันทนวางแผนกอกบฏเพื่อกอบกูเอกราช

               แตไมสําเร็จถูกตัดสินโทษประหารชีวิต กองทัพสยามในรัชกาลที่ 3  ยกมาตีนครเวียงจันทนไดรื้อทําลายกําแพงเมือง
               เอาไฟเผาราบทั้งเมือง  ทรัพยสินถูกปลนสะดม ผูคนถูกกวาดตอน วัดในนครเวียงจันทนเหลืออยูเพียงวัดเดียว

               ที่ไมถูกไฟไหม คือ วัดสีสะเกด อาจมีสาเหตุสําคัญจากสถาปตยกรรมของวัดสีสะเกดแหงนี้สรางตามแบบอยาง

               ของสถาปตยกรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
                       ตอมาในป พ.ศ. 2428 พวกจีนฮอจากมณฑลยูนนาน ยกทัพมารุกรานลาวและตีเมืองตาง ๆ ไลจากทาง

               ตอนเหนือไลมาถึงนครเวียงจันทนตอนใต รัชกาลที่ 5 ทรงแตงตั้งใหกรมหมื่นประจักษ - ศิลปาคม เปนขาหลวง
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60