Page 59 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 59

51


                       อาณาจักรพุกาม

                       ชาวพมาเปนชนเผาจากทางตอนเหนือที่คอย ๆ  อพยพแทรกซึมเขามาสั่งสมอิทธิพลในดินแดน
               สาธารณรัฐแหงสหภาพพมาทีละนอย กระทั่งปพุทธศักราช 1392 จึงมีหลักฐานถึงอาณาจักรอันทรงอํานาจ

               ซึ่งมีศูนยกลางอยูที่เมือง “พุกาม” (Bagan) โดยไดเขามาแทนที่ภาวะสูญญากาศทางอํานาจภายหลังจากการ

               เสื่อมสลายไปของอาณาจักรชาวพยู  อาณาจักรของชาวพุกามแตแรกนั้นมิไดเติบโตขึ้นอยางเปนอันหนึ่ง
               อันเดียวกัน กระทั่งในรัชสมัยของพระเจาอโนรธา (พ.ศ. 1587 - 1620) พระองคจึงสามารถรวบรวมแผนดิน

               พมาใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกันสําเร็จ และเมื่อพระองคทรงตีเมืองทาตอนของชาวมอญไดในปพุทธศักราช
               1600  อาณาจักรพุกามก็กลายเปนอาณาจักรที่เขมแข็งที่สุดในดินแดนพมา อาณาจักรพุกาม

               มีความเขมแข็งเพิ่มมากขึ้นในรัชสมัยของพระเจากยันสิทธา (พ.ศ. 1624 - 1655) พระเจาอลองสิทธู
               (พ.ศ.  1655  -  1710)  ทําใหในชวงปลายพุทธศตวรรษที่  17  ดินแดนในสุวรรณภูมิเกือบทั้งหมด

               ถูกครอบครอง โดยอาณาจักรเพียงสองแหง คือ เขมร (เมืองพระนคร) และพุกาม

                       อํานาจของอาณาจักรพุกามคอย ๆ เสื่อมลง ดวยเหตุผลหลักสองประการ สวนหนึ่งจากการถูกเขา
               ครอบงําโดยคณะสงฆผูมีอํานาจ และอีกสวนหนึ่งจากการรุกรานของจักรวรรดิมองโกล ที่เขามาทางตอนเหนือ

               พระเจานราธิหบดี (ครองราชย พ.ศ. 1779 - 1830) ไดทรงนําทัพสูยูนนานเพื่อยับยั้งการขยายอํานาจของมอง

               โกล  แตเมื่อพระองคแพสงครามในปพุทธศักราช  1820  ทัพของอาณาจักรพุกามก็ระส่ําระสายเกือบทั้งหมด
               พระเจานราธิหบด ีถูกพระราชโอรสปลงพระชนมในปพุทธศักราช 1830 กลายเปนตัวเรงที่ทําใหอาณาจักรมอง

               โกลตัดสินใจรุกรานอาณาจักรพุกามในปเดียวกันนั้น ภายหลังสงครามครั้งนี้ อาณาจักรมองโกลก็สามารถ

               เขาครอบครองดินแดนของอาณาจักรพุกามไดทั้งหมด  ราชวงศพุกามสิ้นสุดลงเมื่อมองโกลไดแตงตั้ง
               รัฐบาลหุนขึ้นบริหารดินแดนพมาในปพุทธศักราช 1832

                       อังวะและหงสาวดี
                       หลังจากการลมสลายของอาณาจักรพุกาม พมาไดแตกแยกออกจากกันอีกครั้ง ราชวงศอังวะ ซึ่งไดรับ

               อิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอาณาจักรพุกามไดถูกสถาปนาขึ้นที่เมืองอังวะในปพุทธศักราช 1907 ศิลปะและ

               วรรณกรรมของพุกามไดถูกฟนฟูจนยุคนี้กลายเปนยุคทองแหงวรรณกรรมของพมา แตเนื่องดวยอาณาเขต
               ที่ยากตอการปองกันการรุกรานจากศัตรู เมืองอังวะจึงถูกชาวไทใหญเขาครอบครองไดในปพุทธศักราช

               2070
                       สําหรับดินแดนทางใต ชาวมอญไดสถาปนาอาณาจักรของพวกตนขึ้นใหมอีกครั้งที่เมืองหงสาวดี

               โดยกษัตริยธรรมเจดีย (ครองราชย พ.ศ. 1970 - 2035) เปนจุดเริ่มตนยุคทองของมอญ ซึ่งเปนศูนยกลางของ

               พุทธศาสนานิกายเถรวาทและศูนยกลางทางการคาขนาดใหญในเวลาตอมา
                       อาณาจักรตองอู

                       หลังจากอาณาจักรพุกามถูกรุกรานจากไทใหญ ชาวอังวะไดอพยพลงมาสถาปนาอาณาจักรแหงใหม

               โดยมีศูนยกลางที่เมืองตองอูภายใตการนําของพระเจามิงคยินโย ในปพุทธศักราช 2074 พระเจาตะเบง
               ชะเวตี้ (ครองราชย พ.ศ. 2074 - 2093) ซึ่งสามารถรวบรวมพมาเกือบทั้งหมดใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกันได

               อีกครั้ง
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64