Page 73 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 73

65


               ชื่อลูติเขามาในแมน้ําเจาพระยา ถึงหนาสถานทูตฝรั่งเศสในกรุงเทพมหานคร เพื่อขมขูใหไทยยกดินแดนฝงขวา

               ของแมน้ําโขงและดินแดนไทยในกัมพูชาบางสวนใหกับฝรั่งเศส และเพื่อเขามาบีบบังคับใหประเทศตาง ๆ
               ทําตามขอเรียกรองของตน ประเทศไทยไดตระหนักถึงภัยคุกคามดังกลาว ซึ่งไดเห็นบทเรียนจากการพายแพ

               ของจักรวรรดิจีนอันยิ่งใหญตอประเทศอังกฤษในสงครามฝนครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2385) การคุกคามของอังกฤษที่มี

               ตอประเทศเพื่อนบานอยางพมา และการยึดครองเวียดนามของฝรั่งเศษ  ดวยเหตุผลดังกลาวเปนเหตุใหไทย
               ตองดําเนินนโยบายแบบผอนปรนหรือลูตามลม (Bending with the wind) เพื่อความอยูรอดของชาติและ

               ยินยอมที่ทําสนธิสัญญาที่ไมเสมอภาค
                       เมื่ออังกฤษสงเซอรจอหน  เบาวริ่ง (Sir.John Bowring) มาเจรจาทําสนธิสัญญาทางพระราชไมตรี

               และการคา ในป พ.ศ. 2398 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไทยไดยินยอม
               ทําสนธิสัญญาที่เรียกวา "สนธิสัญญาเบาวริ่ง" เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2398 ซึ่งเปาหมายของสนธิสัญญา

               ฉบับนี้คือชาติมหาอํานาจตะวันตกตองการใหไทยเปนตลาดระบายสินคาและการลงทุน ซึ่งสงผลใหไทยตอง

               สูญเสียรายไดจากการคาตางประเทศและอํานาจทางการศาลหรือสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (Extra territoriality)

               สรุปสาระสําคัญของสนธิสัญญาเบาวริ่ง  ไดดังนี้


                       1. ใหคนในบังคับอังกฤษอยูภายใตการควบคุมของกงสุลอังกฤษ ทําใหคนในบังคับอังกฤษไมตองขึ้น

               ศาลไทย

                       2. ยกเลิกพระคลังสินคา ใหคนในบังคับของอังกฤษไดรับสิทธิในการคาเสรีในทุกเมืองทา สามารถ
               ซื้อขายสินคาไดโดยตรงกับธุรกิจเอกชนของไทย

                       3. กําหนดอัตราภาษีศุลกากรขาเขาของสินคาทุกชนิดในอัตรารอยละ 3 นอกจากภาษีศุลกากร
               หามเก็บคาธรรมเนียมและอากรอื่น ๆ จากพอคาของประเทศคูสัญญา นอกจากไดรับความเห็นชอบจากสถาน

               กงสุล

                       4. อังกฤษเปนประเทศที่ไดรับการอนุเคราะหจากไทย  หมายความวา ถาฝายไทยยอมใหสิ่งใด ๆ
               แกชาติอื่น ๆ นอกเหนือไปจากสัญญานี้ ไทยก็ตองยอมมอบใหอังกฤษเชนกัน

                       5. ขาวเปนสินคาหลัก รัฐบาลไทยสงวนสิทธิการสงออกขาว ปลา และเกลือ ในยามที่ไทยขาดแคลน
                       6. หามมีการเปลี่ยนแปลงสัญญานี้จนกวาจะใชไปครบ 10 ป และถาตองการแกไขเปลี่ยนแปลงตอง

               แจงใหคูสัญญาทราบลวงหนา 1 ป โดยทั้งสองฝายตองยินยอม

                       ในการนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวมีพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งเซอรจอหน เบาวริ่ง
               เปน “พระยาสยามมานุกูลกิจสยามมิตรมหายศ”  เปนการแสดงถึงพระราชไมตรีอันดีที่ไทยมีตอรัฐบาลอังกฤษ

               อีกดวย

                       สนธิสัญญาเบาวริ่งไดกลายเปนตนแบบของสนธิสัญญาที่นานาชาติเขามาเจริญพระราชไมตรีและ
               การคากับไทยในชวงเวลาตอมาที่ไทยตองลงนามในสนธิสัญญาที่ไมเปนธรรมกับประเทศอื่น ๆ เชนเดียวกับในป

               พ.ศ. 2303 ที่ไทยไดทําสนธิสัญญากับฮอลันดาและปรัสเซีย (เยอรมนี)
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78