Page 79 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 79

71


                             2. เมือง ประกอบดวยอําเภอหลายอําเภอ มีผูวาราชการเมืองเปนผูรับผิดชอบขึ้นตรงตอขาหลวง

               เทศาภิบาล
                             3.  อําเภอ ประกอบดวยทองที่หลาย ๆ ตําบล มีนายอําเภอเปนผูรับผิดชอบ

                            4.  ตําบล ประกอบดวยทองที่ 10 - 20 หมูบานมีกํานันซึ่งเลือกตั้งมาจากผูใหญบานเปน

               ผูรับผิดชอบ
                             5.  หมูบาน ประกอบดวยบานเรือนประมาณ 10 บานขึ้นไป มีราษฎรอาศัยประมาณ 100 คน

               เปนหนวยปกครองที่เล็กที่สุด มีผูใหญบานเปนผูรับผิดชอบตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
               ไดยกเลิก มณฑลเทศาภิบาลและเปลี่ยน เมือง เปน จังหวัด

                            การบริหารราชการในระบบใหมประสบปญหาและอุปสรรค เนื่องจากกลุมบุคคลที่เคยมีอํานาจ
               ในการปกครองประชาชนตามระบอบเกาสูญเสียผลประโยชน จึงพยายามขัดขวาง  พระบาทสมเด็จพระจอม-

               เกลาเจาอยูหัว  ทรงไมตองการใหเกิดความขัดแยงกันอยางรุนแรง ทรงมีพระบรมราโชบายแบบคอยเปน

               คอยไป จึงใชเวลาหลายปกวาจะปฏิรูปการปกครองไดทั่วประเทศ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2449 จึงมีการปกครอง

               แบบมณฑล
                          3.  การปกครองสวนทองถิ่น

                                  การปกครองสวนทองถิ่น หมายถึง  การใหประชาชนในทองที่แตละแหงไดมีโอกาสปกครอง

               และบริหารงานในทองที่ที่ตนอาศัยอยู เพื่อฝกฝนใหบุคคลในทองที่รูจักพึ่งพาและชวยเหลือตนเองโดยใช
               ทรัพยากรที่มีอยู  และบางสวนมาจากการใหความชวยเหลือของรัฐบาลกลาง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

               เปนการวางรากฐานการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตยในระดับทองถิ่น
                            ใน พ.ศ. 2440 โปรดเกลาใหตรา พ.ร.บ. ลักษณะการปกครองทองที่ ร.ศ.116 โดยรัฐบาลใหสิทธิ

               ประโยชนในการเลือกผูใหญบานเปนหัวหนาปกครองประชาชนในหมูบาน  และใหผูใหญบานมีสิทธิเลือกกํานัน

               เปนหัวหนาปกครองในตําบลของตน การเลือกกํานันผูใหญบานยังเปนระบบการปกครองสวนทองถิ่นที่ใชกัน
               เรื่อยมาจนถึงปจจุบัน

                            การจัดสุขาภิบาล  ใน พ.ศ. 2440 เริ่มจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพขึ้นเปนครั้งแรก เพื่อทําหนาที่รักษา

               ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยในชุมชน การปองกันโรคภัยไขเจ็บ เปนตน ตอมาจึงขยายงานเปน
               กรมสุขาภิบาลสังกัดอยูในกระทรวงนครบาล สําหรับตางจังหวัด เริ่มจัดตั้งสุขาภิบาลเปนแหงแรกที่ ตําบล-

               ทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร โดยมีคณะกรรมการประกอบดวย กํานัน ผูใหญบาน ทําหนาที่บริหารงาน
               สุขาภิบาล รับผิดชอบงานดานตาง ๆ เกี่ยวกับสวัสดิภาพของประชาชน เชน การรักษาความสะอาด การกําจัด

               ขยะ การสงเสริมสุขภาพอนามัย และการปองกันโรคระบาดที่เกิดกับประชาชน บํารุงรักษาถนนหนทาง

               เปนตน หนวยงานราชการสวนทองถิ่น คือ สุขาภิบาลและเทศบาลยังปรากฏมาจนถึงปจจุบัน

               การปฏิรูปดานเศรษฐกิจ

                        ในสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยเริ่มตนพัฒนาทางเศรษฐกิจ เพราะเปนผลมาจากการติดตอกับ
               ตางประเทศอยางกวางขวาง โดยมีการปฏิรูปทางเศรษฐกิจ มีดังตอไปนี้
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84