Page 81 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 81

73


               ก็ไดยกเลิกทาสในประเทศของตน จึงมีพระราชดําริยกเลิกทาสแบบคอยเปนคอยไป ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อพ.ศ. 2417

               การเลิกทาสดําเนินไปอยางเปนขั้นเปนตอนใชเวลานานถึง 31 ป  จึงสําเร็จเรียบรอยทั่วประเทศโดยไมขัดแยง
               กันถึงขั้นทําสงครามกันเองเหมือนดังเชนที่เกิดขึ้นในระเทศสหรัฐอเมริกา ในพ.ศ. 2448 จึงตราพระราชบัญญัติ

               เลิกทาส  เปนกฎหมายที่หามมิใหซื้อขายเอาคนมาเปนทาสโดยเด็ดขาด

                         การยกเลิกระบบไพรและทาสดังกลาว  นับเปนการปฏิวัติสังคมไทยครั้งยิ่งใหญทําใหชาวไทยไดรับ
               อิสรภาพ  เสรีภาพและความเสมอภาค  ซึ่งเปนรากฐานในการพัฒนาสังคมไทยใหกาวหนาไปสูสังคมที่มีการ

               ปกครองแบบประชาธิปไตยในเวลาตอมา
                        3. ปฏิรูปการศึกษา  การศึกษาเปนสิ่งสําคัญในการพัฒนาประเทศ  จึงทรงมุงพัฒนาการศึกษาของ

               ไทยใหมีความเจริญรุงเรืองและเพื่อใหประชาชนสามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข  กาวหนาในการ
               สรางสรรคอารยธรรมและวัฒนธรรม  เชน ตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในวัง พ.ศ. 2414   ตั้งโรงเรียนนายทหาร

               มหาดเล็กที่พระตําหนักสวนกุหลาบ ตั้งโรงเรียนสําหรับราษฏรขึ้นครั้งแรกที่วัดมหรรณพาราม เมื่อ พ.ศ. 2427

               และขยายการศึกษาออกสูหัวเมืองอยางจริงจังใน พ.ศ. 2441 โดยใชวัดเปนสถานศึกษาและมีพระสงฆเปน
               ครูผูสอน

                        4.  ทรงยกเลิกประเพณีวัฒนธรรมที่ลาสมัย ดังนี้

                           -  การเปลี่ยนแปลงประเพณีการสืบสันตติวงศ รัชกาลที่ 5  โปรดใหยกเลิกตําแหนงวังหนา
               (พระมหาอุปราช) และทรงสถาปนาตําแหนงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร แทนสมเด็จ-

               พระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมารองคแรก คือ เจาฟามหาวชิรุณหิศ แตทรงสิ้นพระชนมกอนจึงมีการ

               สถาปนาสมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟามหาวชิราวุธขึ้นเปนสยามมกุฎราชกุมารแทน
                           -  การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการแตงกาย ทรงผมโปรดใหชายไทยในราชสํานัก เลิกไวผมทรง

               มหาดไทยเปลี่ยนเปนไวผมตัดยาวทั้งศีรษะอยางฝรั่ง ผูหญิงโปรดใหเลิกไวผมปก ใหไวผมยาวทรงดอกกระทุม
               โปรดใหชายไทยในราชสํานักนุงผามวงสีตาง ๆ สวมเสื้อราชปะแตน สวมหมวกอยางยุโรปใหขาราชการทุกกรม

               กองแตงเครื่องแบบนุงกางเกงอยางทหารในยุโรปแทนโจงกระเบน  การแตงกายสตรีเริ่มเปลี่ยนแปลงหลังจาก

               รัชกาลที่ 5 กลับจากประพาสยุโรป ครั้งที่ 2 โดยสตรีไทยนิยมสวมเสื้อของอังกฤษ  เปนเสื้อคอตั้งแขนยาว
               ตนแขนพองคลายขาหมูแฮม

                               -   การเปลี่ยนแปลงประเพณีการเขาเฝาโปรดเกลาฯ ใหยกเลิกประเพณีการหมอบคลานในเวลา
               เขาเฝา แตใหใชวิธีถวายคํานับแทนและใหนั่งเกาอี้ ไมตองนั่งกับพื้น

                               -  การใชศักราชและวันทางสุริยคติในทางราชการโปรดเกลาฯ ใหใช ร.ศ.  (รัตนโกสินทรศก)

               แทน จ.ศ. (จุลศักราช) ซึ่งใชมาตั้งแตสมัยอยุธยาโดยเริ่มใช ร.ศ. ตั้งแตวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2431 เปนตนไป
               เริ่ม ร.ศ. 1 ตั้งแตป 2325 ซึ่งเปนปที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86