Page 84 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 84

76


               เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ระหวางสงครามนั้น ญี่ปุนไดโอนดินแดนบางสวน ที่ยึดไดจากอังกฤษ

               คืนใหแกไทย คือ รัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู  ปะลิส และสองรัฐในแควนไทยใหญ คือเชียงตุง และเมืองพาน
                       2. ขบวนการเสรีไทย

                           ขบวนการเสรีไทยที่เกิดขึ้นในสงครามหาเอเชียบูรพา และเปนสวนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 2

               เกิดจากกลุมคนไทยที่ตอตานการรุกรานของญี่ปุน และไมเห็นดวยกับการที่รัฐบาลไทยรวมมือกับญี่ปุน และ
               ประกาศสงครามของรัฐบาลไทยตอฝายสัมพันธมิตรแบงเปน 3 กลุม กลาวคือ ขบวนการเสรีไทยในประเทศ

               นําโดยนายปรีดี พนมยงค ขบวนการเสรีไทยในสหรัฐอเมริกา นําโดย ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เอกอัครราชทูตไทย
               ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการไมยอมสงคําประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกา และถือวา

               การประกาศสงครามนั้นมิใชเจตนาของคนไทย และขบวนการเสรีไทยในอังกฤษ นําโดยนักเรียนไทย ในอังกฤษ
               ซึ่งไดทําหนังสือเสนอ นายวินสตัน เชอรชิล นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เพื่อกอตั้งกองทหารไทยสูรบกับญี่ปุน

               ในประเทศไทย

                       ทั้ง 3  กลุมไดทํางานประสานความรวมมือกันดวยความยากลําบากในภาวะขอจํากัดของสงคราม
               ทั้งการจัดตั้งกองกําลังตอตานญี่ปุน และการสรางความเขาใจกับสหรัฐอเมริกา อังกฤษและชาติพันธมิตร

               จนกระทั่งในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 นายปรีดี พนมยงค ในฐานะผูสําเร็จราชการแทนพระองค

               ไดประกาศสันติภาพ มีสาระสําคัญวาการประกาศสงครามตอสหรัฐฯ และอังกฤษตลอดจนการกระทําอันเปน
               ปฏิปกษตอฝายสัมพันธมิตรทั้งปวงผิดจากเจตจํานงของประชาชนชาวไทยและขัดกับรัฐธรรมนูญและกฎหมาย

               บานเมือง การประกาศสงครามตอฝายสัมพันธมิตรเปนโมฆะ ไมผูกพันประชาชนชาวไทย ประเทศไทย

               ไดตัดสินใจที่จะใหกลับคืนมาซึ่งสัมพันธไมตรีอันดีอันเคยมีมากับนานาประเทศเหมือนเมื่อกอนวันที่ 8 ธันวาคม
               พ.ศ. 2484 และพรอมที่จะรวมมือเต็มที่ทุกทางกับสหประชาชาติในการสถาปนาเสถียรภาพในโลกนี้

                       ดังนั้นขบวนการเสรีไทย เปนขบวนการของประชาชนชาวไทยผูรักชาติที่มีเปาหมายชัดเจน
               คือตองการรักษาเอกราชของชาติไทยไมใหตกเปนของตางชาติในสงครามโลกครั้งที่2ไมวาจะเปนฝายอักษะ

               หรือฝายสัมพันธมิตรก็ตาม โดยมีอุดมการณที่จะรักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทยเอาไวใหเปนของคน

               ไทย ที่ไมอาจปฏิเสธไดตอบทบาทของเสรีไทยนั้นคือ การตอสูจนไดเอกราชของชาติไทยกลับคืนมาหลัง
               สงครามโลกครั้งที่ 2 จบลง


                       3.  ผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีตอประเทศไทย

                         3.1  ผลกระทบดานการเมือง
                              ญี่ปุนแพสงครามเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2488 รัฐบาลไทยประกาศวา การประกาศ

               สงครามกับสัมพันธมิตรเปนโมฆะ เพราะขัดตอรัฐธรรมนูญ และความประสงคของประชาชนชาวไทย ไทยตอง

               ปรับความเขาใจกับสัมพันธมิตร สหรัฐอเมริกามิไดถือไทยเปนศัตรู ตามประกาศของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
               โดย นาย เจมส เบิรนส (James Byrnes) รัฐมนตรีตางประเทศเปนผูลงนาม แตรัฐมนตรีตางประเทศอังกฤษ

               นายเออรเนสต เบวิน (Ernest Bevin) ไมยอมรับทราบการโมฆะของการประกาศสงคราม วันที่ 1 มกราคม

               พ.ศ. 2489 (เวลานั้น ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช เปนหัวหนารัฐบาล) ผูแทนไทยไดลงนามกับผูแทนอังกฤษ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89