Page 89 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 89

81


               พ.อ.พระยาพหลฯ ก็สามารถปราบรัฐประหารของคณะกูบานกูเมืองไดสําเร็จ หลังจากนั้นก็มีการจับกุมและ

               กวาดลางผูตองสงสัยวาจะรวมมือกับคณะกูบานกูเมือง จนดูเหมือนวาประเทศไทยมิไดปกครองในระบอบ
               ประชาธิปไตยอยางแทจริง

                        2.  ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปนการเปลี่ยนแปลง

               ทางการเมืองที่สําคัญของไทย และมีผลกระทบทางเศรษฐกิจ เพราะความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงโครงสราง
               ทางเศรษฐกิจ ที่คณะราษฎรไดมอบหมายใหนายปรีดี พนมยงค เปนคนรางเคาโครงการเศรษฐกิจ เพื่อนําเสนอ

               นั้น มิไดรับการยอมรับจากคณะราษฎรสวนใหญ  ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลง
               การปกครอง จึงมีการเปลี่ยนแปลงเปนทุนนิยมโดยรัฐที่เรียกวารัฐวิสาหกิจและโครงสรางทางเศรษฐกิจยังคง

               เนนที่การเกษตรกรรมมากกวาอุตสาหกรรม ซึ่งตางจากประเทศตะวันตกสวนใหญที่มีการปกครองในระบอบ
               ประชาธิปไตย ไดพัฒนาไปสูความเปนประเทศอุตสาหกรรม

                        3.  ผลกระทบทางดานสังคม ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สังคมไทยไดรับผลกระทบจาก

               เปลี่ยนแปลงพอสมควร คือ ประชาชนเริ่มไดรับเสรีภาพและมีสิทธิตางๆ ตลอดจนความเสมอภาคภายใต
               บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ และไดรับสิทธิในการปกครองตนเอง ในขณะที่บรรดาเจาขุนมูลนาย ขุนนาง ซึ่งมี

               อํานาจภายใตระบอบการปกครองดั้งเดิมไดสูญเสียอํานาจและสิทธิประโยชนตางๆ ที่เคยมีมากอน โดยที่

               คณะราษฎรไดเขาไปมีบทบาทแทนบรรดาเจานายและขุนนางในระบบเกา เนื่องจากคณะราษฎรมีนโยบาย
               สงเสริมการศึกษาของราษฎรอยางเต็มที่ นอกจากนั้นรัฐบาลไดกระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่น

               ดวยการจัดตั้งเทศบาลตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร มีสภาเทศบาลคอยควบคุมกิจการบริหารของ

               เทศบาลเฉพาะทองถิ่นนั้นๆ โดยมีเทศมนตรีเปนผูบริหารตามหนาที่พ.ศ. 2479 รัฐบาลของ พ.อ.พระยาพหล
               พลพยุหเสนา ไดประกาศใชแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2479 โดยกําหนดแบงการศึกษาออกเปน 2 ประเภท

               คือ สายสามัญศึกษาและสายอาชีวศึกษา ซึ่งเปนการเนนความสําคัญของอาชีวศึกษาอยางแทจริง โดยได
               กําหนดความมุงหมายเพื่อสงเสริมใหผูที่เรียนจบการศึกษาในสายสามัญ ไดเรียนวิชาอาชีพเพิ่มเติม

               นอกเหนือไปจากเรียนวิชาสามัญ ทั้งนี้ เพื่อประโยชนที่จะออกไปประกอบอาชีพตอไป

                        ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 จึงไดนําไปสูการปรับปรุงใหราษฎรไดรับการศึกษา
               และสามารถใชวิชาการความรูที่ไดรับไปประกอบอาชีพอยางมั่นคงและมีความสุข ขณะเดียวกัน

               การเปลี่ยนแปลงการปกครองในครั้งนี้สงผลใหชนชั้นเจานายและขุนนางในระบบเกาถูกลิดรอนผลประโยชน
               ทางเศรษฐกิจลง
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94