Page 114 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 114

106


                       2.2 ยุคสงครามเย็น

                          ยุโรปยุคสงครามเย็น
                          สงครามเย็น (Cold war) เปนสงครามที่เกิดจากการปะทะกันระหวางสหรัฐอเมริกา

               (เสรีประชาธิปไตย) และสหภาพโซเวียต (คอมมิวนิสต) ซึ่งจะขอรวมเอาไวทั้งหนวยงานสําคัญ, สถานที่ตาง ๆ

               เปนตน
                          สงครามเย็น เปนลักษณะการเผชิญหนา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง คําวาสงครามเย็นเปน

               คําใหม ที่เกิดขึ้นกอนสงครามยุติลง และเรียกตอมาเปนการอธิบายลักษณะความตึงเครียดระหวางประเทศ หรือ
               ระหวางกลุมที่ดําเนินไปอยางตอเนื่อง  โดยไมมีการจับอาวุธขึ้นตอสู  เพราะถามีการใชอาวุธ  สถานการณ

               จะเปลี่ยนไปเปนสงครามรอน  (hot  war)  ซึ่งจะมีขอบเขตกวางขวางและกออันตรายอยางใหญหลวง
               แกมนุษยชาติ วิธีการที่ใชมากในสงครามเย็น คือ การโฆษณาชวนเชื่อ สงครามจิตวิทยา การแขงขันกันทางกําลัง

               อาวุธ และการสรางความนิยมลัทธิของตน ในประเทศเล็กๆ ที่อาจถูกรวมเขามาเปนประเทศบริวารของแตละฝาย

                          สมัยเริ่มตนสงครามเย็น นาจะอยูในสมัยวิกฤตการณทางการทูตในตอนกลางและปลาย ค.ศ. 1947
               เมื่อสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเกิดขัดแยงเรื่องการจัดตั้งองคการสันติภาพในตุรกี ยุโรปตะวันออกและ

               เยอรมนี ซึ่งทําใหสหรัฐอเมริกาเริ่มตระหนักวาเปนหนาที่ของตน ที่จะตองเปนผูนําตอตาน แผนการยึดครองโลก

               ของสหภาพโซเวียต ที่เปนผูนําฝายคอมมิวนิสต
                          การแบงสถานภาพของประเทศตาง ๆ ในสมัยสงครามเย็น คือ

                          1)  ประเทศมหาอํานาจ (Big Powers) คือ ประเทศพัฒนาแลว หมายถึง ประเทศที่มีการพัฒนา

               อุตสาหกรรม มีภาระหนาที่นําอารยธรรมไปเผยแพรยังประเทศที่ลาหลัง ทั้งหมดเปนการสรางลักษณะจักรวรรดิ
               นิยมใหมในคริสตศตวรรษที่ 19 คือ การลาเมืองขึ้นและยึดครองประเทศอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชีย

               มีจุดประสงคคือความตองการตลาดระบายสินคา ตองการแรงงานราคาถูกและตองการทรัพยากรในประเทศนั้น
               มาใชประโยชนในงานอุตสาหกรรมของตน

                          2)  ประเทศดอยพัฒนา  (Underdeveloped  Countries)  คือประเทศที่ยังไมมีการพัฒนา

               อุตสาหกรรม หรือมีการพัฒนาในระดับต่ํา ประเทศเหลานี้จะมีความลาหลังทางเทคโนโลยีมีฐานะเปนประเทศ
               พึ่งพา (dependent) และตองเผชิญหนาการลาอาณานิคมของชาติตะวันตก สวนมากเปนประเทศในเอเชียและ

               แอฟริกา
                          3)  ประเทศอภิมหาอํานาจ  (Super  Powers)  คือ  ประเทศที่ปรากฏความสําคัญขึ้นมาแทน

               มหาอํานาจตะวันตก  ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง  มีลักษณะเปนประเทศภาคพื้นทวีป  (Continental

               Character)  มีการพัฒนาเทคโนโลยีระดับสูง  และเปนผูนําลัทธิการเมืองสองฝายคือ ฝายโลกเสรีและ
               ฝายคอมมิวนิสต

                       ระยะสงครามเย็น

                          1) ค.ศ. 1947 - 1949 เปนระยะความตึงเครียดเนื่องจากการเผชิญหนากันระหวางอภิมหาอํานาจ
               แตยังไมมีการประกาศสงครามหรือใชกําลัง  เปนสมัยการประกาศแผนการทรูแมน  (Truman  Doctrine)
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119