Page 119 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 119

111


                       ขอบขายของเศรษฐศาสตร แบงเปน 2 ดานใหญ ๆ คือ

                       1. เศรษฐศาสตรมหภาค  เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจเปนสวนรวม  เชน การผลิต
               รายได การบริโภค การออม การลงทุน การจางงาน การภาษีอากร การธนาคาร รายไดประชาชาติ การคา

               ระหวางประเทศ เปนตน

                       2. เศรษฐศาสตรจุลภาค (Micro Economics) หมายถึง การศึกษาพฤติกรรมของหนวยเศรษฐกิจ
               สวนยอย ซึ่งเปนสวนประกอบของระบบเศรษฐกิจสวนรวม เชน ศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคแตละราย หรือ

               กลุมของผูบริโภคสินคาแตละชนิด พฤติกรรมของผูผลิตแตละราย กลุมผูผลิตสินคาแตละชนิด การกําหนด
               ปริมาณซื้อของผูบริโภค การกําหนดปริมาณการผลิตของผูผลิต การกําหนดราคาปจจัยการผลิต ตลอดจนการ

               ทํางานของกลไกราคา
                       เศรษฐศาสตรมหภาค  (Macro  Economics)  เปนการศึกษาพฤติกรรมของระบบเศรษฐกิจ

               โดยสวนรวม ศึกษาถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะหนึ่ง เชน ศึกษาเรื่องรายไดประชาชาติ การจางงาน

               การออม การลงทุน การเงิน การธนาคาร การคลังรัฐบาล การคาระหวางประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ เปนตน
                       เศรษฐศาสตรทั้งสองแนวนี้มีความสําคัญเทาเทียมกัน  การศึกษาแขนงใดแขนงหนึ่ง  จะทําให

               ความเขาใจในการทํางานของระบบเศรษฐกิจเปนไปอยางไมครบถวน เพราะทั้งสองแขนงตางเปนสวนประกอบ

               ซึ่งกันและกัน
                       ฐานความรูของการศึกษาเศรษฐศาสตร  ในการศึกษาเศรษฐศาสตรควรเขาใจแนวคิดและคําศัพท

               เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาดังนี้

                       1. ความตองการ (Wants) หมายถึง ความปรารถนาที่จะไดสิ่งตาง ๆ มาบริโภค เพื่อตอบสนอง
               ความจําเปนในการดํารงชีวิต และเพื่ออํานวยความสะดวกตาง ๆ ซึ่งความตองการจะเปนกลไกสําคัญเบื้องตน

               ที่กอใหเกิดกิจกรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกิจตามมาอีกมากมาย
                       2. ทรัพยากร  หมายถึง  สิ่งทั้งหลายที่สามารถนํามาใชในการผลิตหรือสรางใหเกิดเปนสินคาและ

               บริการ ทรัพยากร แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

                       2.1 ทรัพยากรมนุษย เปนทรัพยากรที่สําคัญเปนอยางยิ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
                       2.2 ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติเปนทรัพยากรที่มีอยู

               อยางจํากัด เชน แรธาตุ ที่ดิน น้ํามัน ปาไม แหลงน้ํา เปนตน
                       ทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้นเปนทรัพยากรที่ผลิตขึ้นจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเปนวัตถุดิบ เชน

               เครื่องมือ เครื่องใช เครื่องจักร อาหาร เสื้อผา เปนตน

                       ตัวอยางเชน  ถารัฐบาลใชจายงบประมาณแผนดิน สรางถนน 1 สาย ใชเงิน 20,000 ลานบาท การใช
               จายของรัฐบาลผานบริษัทธุรกิจที่รับเหมากอสรางถนน ทําใหมีการจางงานมากขึ้น ซื้อวัสดุกอสรางมากขึ้น

               ทําใหประชาชนที่เกี่ยวของมีรายไดมากขึ้น เมื่อมีรายไดมากขึ้นก็จะมีอํานาจซื้อสินคาและบริการมากขึ้น คือ

               จะมีอุปสงคตอสินคาบริการมากขึ้น
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124