Page 121 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 121

113































                       อยางไรก็ตามระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยนับตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1800 - 1892) ซึ่งเปน

               ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม  มีการสงเสริมใหมีการคาโดยเสรีและกวางขวาง  พอมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา

               (พ.ศ. 1893 - 2310) จะเปนระบบเศรษฐกิจแบบศักดินา ทําการเกษตรเปนพื้นฐาน ประชาชนทําการผลิตแบบ
               พอยังชีพ รายไดหลักของรัฐบาลมาจากสวยและภาษีอากร และเริ่มเปลี่ยนแปลงเปนระบบเศรษฐกิจแบบผสม

               ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน  (พ.ศ.  2325  -  2398)  โดยลักษณะระบบเศรษฐกิจจะเปนแบบก้ํากึ่งกัน
               ระหวางเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ และเศรษฐกิจแบบตลาด กลาวคือ มีการทําการเกษตรเพื่อบริโภคเอง และทํา

               เกษตรเพื่อการคา แตการทําเพื่อการคาจะเปนลําดับรอง นอกจากการทําการเกษตรแลว ในสมัยกรุง-

               รัตนโกสินทรตอนตนนี้ ยังไดเริ่มมีการอุตสาหกรรมขั้นตนเกิดขึ้นดวย เชน อุตสาหกรรมเหมืองแร และน้ําตาล-
               ทราย เปนตน

                       ตอจากนั้น หลังชวงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ระหวาง พ.ศ. 2475 - 2504 ระบบเศรษฐกิจไทย

               เปลี่ยนแปลงไปมาก เนื่องจากประเทศไทยไดเปดการคาเสรีกับประเทศตะวันตกตามขอตกลงใน “สนธิสัญญา
               เบาวริ่ง” เปนผลใหพลังการผลิตไมพัฒนา และไมสามารถจะแขงขันกับคูแขงทางการคาทั้งหลายได ผลผลิต

               ที่พอจะกาวหนาและมีคุณภาพสูง  ก็ถูกจํากัดดวยนายทุนตางชาติ  และนายทุนเหลานั้นสามารถควบคุม

               เศรษฐกิจไทยได นอกจากนี้ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2488) สิ้นสุดลง ประเทศไทยตองประสบ
               กับปญหาทางเศรษฐกิจหลายประการ เชน ปญหาการขาดแคลนสินคาอุปโภคบริโภค ปญหาเงินเฟอ ปญหา

               การขาดแคลนเงินตราตางประเทศ และปญหาจากการที่ตองปฏิบัติตามขอตกลงตามสัญญาสมบูรณแบบกับ
               ประเทศอังกฤษ  ดังนั้นในชวงนี้ประเทศไทยไดมีการแกปญหา  โดยมีการออกกฎหมายควบคุมราคาสินคา

               หามกักตุนสินคา ใหใชของที่ผลิตขึ้นในประเทศ มีการเปดธนาคารของคนไทยเพิ่มมากขึ้น และใหธนาคารเปน

               แหลงเงินทุนไปทําธุรกิจ รัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดใชนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม และการขยายตัว
               ของทุนนิยมโดยรัฐ เชน รัฐเขามาสงเสริมใหมีการประกอบการอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม สาธารณูปโภค ฯลฯ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126