Page 122 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 122

114


               สงเสริมใหคนไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจมากขึ้น เชน  มีการสงวนอาชีพบางประเภทใหคนไทย สวนดาน

               อุตสาหกรรม รัฐบาลก็จะเขาไปดําเนินการเอง
                       นับตั้งแต พ.ศ.2504  เปนตนมา  ระบบเศรษฐกิจของไทยเปลี่ยนแปลงมากอันเนื่องมาจาก

               การเจริญเติบโตทางดานประชากร และปญหาดานทรัพยากรซึ่งมีจํากัด โดยรัฐบาลซึ่งเปนตัวแทนของสังคม

               ตองเขามาทําหนาที่เปนผูจัดทําเพื่อแกไขปญหาตาง ๆ ในชวงนี้เองจึงทําใหประเทศไทยใหความสําคัญในการ
               วางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลและประชาชนรวมกันดําเนินการ ซึ่งอาจกลาวไดวาระบบเศรษฐกิจ

               ไทยไดเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบผสม โดยมีการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและไดเริ่มจัดทําเปนแผนพัฒนา
               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติขึ้น โดยเริ่มตั้งแตฉบับที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2504 มาจนถึงปจจุบัน คือ ฉบับที่ 11 ซึ่งมี

               กําหนดวาระของแผน ดังนี้
                          (1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  1   พ.ศ. 2504 - 2509

                          (2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  2   พ.ศ. 2510 - 2514

                          (3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  3   พ.ศ. 2515 - 2519
                          (4)  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  4   พ.ศ. 2520 - 2524

                          (5)  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  5   พ.ศ. 2525 - 2529

                          (6) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  6   พ.ศ. 2530 - 2534
                          (7) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  7   พ.ศ. 2535 - 2539

                          (8)  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  8   พ.ศ. 2540 - 2544

                          (9) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ  ฉบับที่  9   พ.ศ. 2545 - 2549
                          (10) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554

                          (11) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559

               ปญหาเศรษฐกิจของไทย

                       ประเทศไทยไดชื่อวาเปนประเทศที่กําลังพัฒนา (Developing country) เหมือนกับประเทศตาง ๆ
               ในแถบเอเชียอีกหลายประเทศ ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศไทยประสบปญหาทางเศรษฐกิจหลายประการที่สําคัญ คือ

                       1. ความแตกตางของรายได  ผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอดีตที่ผานมา มีการขยายตัว

               ทางเศรษฐกิจเปนไปในลักษณะที่ขาดความสมดุล  ระหวางประชาชนในเมืองกับชนบทยังผลใหเกิดปญหา
               ความแตกตางทางรายไดอยางเห็นไดชัด ประชาชนในชนบทยังยากจนมากกวา 10 ลานคน หรือประมาณ

               รอยละ 90 ของประชาชนในชนบท จากการสํารวจพบวาผูประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีรายไดต่ํากวาผูที่
               ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม 6 เทาตัว พาณิชยกรรม เกือบ 10 เทาตัว และดานบริการกวา 4 เทาตัว อีกทั้ง

               ยังต่ํากวารายไดเฉลี่ยของประชาชนในชาติดวย ความแตกตางของรายได ผูประกอบอาชีพดานตาง ๆ ยังคง

               ปรากฏอยูในปจจุบัน ประชาชนที่มีรายไดเฉลี่ยต่ําสุดของประเทศอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                       2. สินคาขั้นปฐม  เปนสินคาพื้นฐานของคนไทย อันไดแก สินคาดานการเกษตร เปนสินคาผลิตผล

               จากการทํานา ทําไร ทําสวน เลี้ยงสัตวและการประมง ลักษณะสินคาเกษตรไทย ในปจจุบันราคาผลผลิตตกต่ํา
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127