Page 127 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 127

119


                       การพัฒนาตลาดแรงงาน

                       ในป พ.ศ. 2540 ปญหาแรงงานในประเทศไทยเริ่มรุนแรงมากขึ้น โรงงานตาง ๆ หยุดกิจการ มีการ
               เลิกจางงานมากขึ้น ทําใหเกิดปญหาการวางงานทั้งในลักษณะที่เปนการวางงาน โดยเปดเผย การวางงานของ

               ผูมีความรูแตทํางานต่ํากวาระดับรายไดและความสามารถ ตลอดจนปญหาแรงงานเด็ก รัฐบาลจึงไดเรงหา

               แนวทางและมาตรการตาง ๆ ที่จะลดความรุนแรงดานปญหาใหนอยลง ตลอดจนกําหนดนโยบายที่จะพัฒนา
               เศรษฐกิจเพื่อใหมีงานทํามากขึ้นดวยวิธีการตาง ๆ เชน

                          1.  การพัฒนาการเกษตรในรูปการเกษตรครบวงจร ตั้งแตการพัฒนาผลผลิตการเกษตร
               อุตสาหกรรมที่ตอเนื่อง ตลอดจนการจัดการเรื่องตลาดและเสถียรภาพของราคาในพืชหลักที่มีอยู การพัฒนา

               การเกษตรแบบผสมผสานที่เปนการขยายชนิดพืชและใชพื้นที่มากขึ้นในเขตชลประทานและเขตน้ําฝน
                          2. การสรางงานเกษตรในฤดูแลง เปนที่ทราบกันทั่วไปวาปญหาในเขตชนบทสวนใหญนั้นเกิดขึ้น

               ในฤดูแลง  มาตรการที่จะชวยสรางงานทางการเกษตร  ไดแก  การนําเทคโนโลยีคิดคนมาไดไปปฏิบัติ  เชน

               การทําฝนเทียม ซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่ชนบทยากจน เทคโนโลยีใหม ๆ เหลานี้ไดแก การเพิ่มประสิทธิภาพ
               การเพาะปลูกพืช การเลี้ยงสัตว การใชประโยชนจากแหลงน้ําใหมีน้ําพอเพียงในฤดูแลงสงผลใหเกิดผลดีในดาน

               การประมง การเลี้ยงสัตว การเพาะปลูก ตลอดจนการเพิ่มมาตรการเกี่ยวกับไมยืนตนไมโตเร็ว เพื่อใชสอย

               ในระดับหมูบาน การสนับสนุนเรื่องตาง ๆ เหลานี้อยางพอเพียง จะกอใหเกิดงานที่มีผลผลิตและรายไดขึ้น
               อยางกวางขวางโดยเฉพาะในฤดูแลงซึ่งเปนฤดูที่มีปญหา  การวางงานสูง

                          3. การสรางงานโดยการสนับสนุนอุตสาหกรรมชนบท  สงเสริมอุตสาหกรรมชนบทที่ใชวัตถุดิบ

               ทางการเกษตร  การสรางงานใหมากขึ้นในตางจังหวัดจะเปนการรองรับแรงงานจํานวนมาก  และลดความ
               จําเปนที่จะอพยพเขามาหางานทําในกรุงเทพมหานคร หรือนอกทองถิ่น ในขณะนี้ไดมีการทดลองการใหบริการ

               สนับสนุนอุตสาหกรรมตางจังหวัดโดยวิธีระดมสรรพกําลังภาครัฐบาลที่มีอยูในดานทุน เทคโนโลยี การจัดการ
               และการตลาดในหลายจังหวัด คือ พิษณุโลก สงขลา ขอนแกน และกาญจนบุรี

                          4. การสรางงานโดยการพัฒนาอาชีพนอกการเกษตร  การขยายการจางงานในสาขาเกษตร

               จําเปนที่จะตองขยายงานนอกการเกษตรภายในชนบท  เชน โครงการสงเสริมหัตถกรรมและอุตสาหกรรม
               ในครัวเรือน ซึ่งเปนสินคาออกที่สําคัญประเภทหนึ่งของประเทศไทย โดยเนนการใชวัตถุดิบในทองถิ่นใหมาก

               ที่สุด  โดยรัฐบาลตองใหความชวยเหลือ  จัดใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของที่เขาไป
               ดําเนินการสงเสริมในเรื่องนี้ ฝกอบรมผูที่สนใจใหมีความรูพิจารณาแหลงสินเชื่อสําหรับผูประกอบกิจกรรมและ

               การตลาด อยางไรก็ดีการที่จะขยายการผลิตในกิจกรรมนอกการเกษตร จําเปนตองคํานึงถึงการเตรียมคนและ

               ฝกคนใหมีฝมือสอดคลองกับความตองการของงานนอกการเกษตร
                          แมจะมีแนวนโยบายที่ชัดเจนดังกลาวขางตนแลวก็ตาม  แตปญหาเรื่องการวางงานในชนบท

               จะยังคงเปนปญหาอยูตอไปอีกนาน ดังนั้น การปรับปรุงนโยบายการพัฒนาการเกษตร เพื่อใหสามารถรองรับ

               แรงงานชนบทไดเพิ่มขึ้น รวมทั้งการเรงรัดขยายอุตสาหกรรมตางจังหวัดเพื่อจางแรงงานจากภาคชนบทเปนสิ่ง
               ที่จะตองดําเนินการอยางเอาจริงเอาจังมากขึ้น
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132