Page 132 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 132

124


                          2.7 พัฒนาระบบการเมืองใหมีอุดมการณประชาธิปไตยอยางเปนวิถีชีวิต ใหมีคานิยม วัฒนธรรม

               กติกา  และวิธีการบริหารจัดการที่ดี  มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสังคมไทยเพื่อสนับสนุนการพัฒนา
               ดานเศรษฐกิจและสังคมใหยั่งยืน

                         สรุป  ในปจจุบันนี้ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ จะมีทั้งภาครัฐและเอกชนตางมีสวนเปนเจาของ

               ทรัพยากรและปจจัยการผลิตตาง ๆ โดยเอกชนใชกําไรเปนสิ่งจูงใจเขามาทําการผลิตและอาศัยกลไกราคาในการ
               จัดทรัพยากร  และมีบางกิจกรรมที่ควบคุมโดยรัฐ  ทั้งนี้เพื่อแกไขปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและคุมครอง

               ผลประโยชนของสังคมโดยรวม นอกจากนี้รัฐจะเขามามีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจเทาที่จําเปน ไดแก
                          1) ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันประเทศ เชน ดานการทหาร ตํารวจและศาล เปนตน

                          2) ดําเนินการดานเศรษฐกิจพื้นฐาน เชน สรางสะพาน ถนน เขื่อน เปนตน
                          3) ควบคุมและดําเนินการดานการศึกษาและสาธารณสุข

                          4) ดําเนินกิจการดานสาธารณูปโภค เชน การรถไฟ การประปา สื่อสารไปรษณีย เปนตน

                          5) ดําเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อกระจายรายไดและทรัพยากรจากชุมชนเมืองไปยังชนบท
               โดยกําหนดเปนนโยบายสําคัญ ๆ เชน การกระตุนเศรษฐกิจ ไดแก กองทุนหมูบาน SME วิสาหกิจชุมชน

               โครงการพัฒนาการศึกษา โครงการพัฒนาแหลงน้ํา และการสรางงานในรูปแบบตาง ๆ โดยรัฐบาลไดกําหนดเปน

               นโยบายไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 - 9 เปนตน
                       หลักการ และวิธีการเลือกใชทรัพยากรเพื่อการผลิต

                       ในการผลิตเพื่อสนองตอความตองการของมนุษย ผูผลิตตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้

                       ปจจัยการผลิต    ปจจัยการผลิต  หมายถึง  ทรัพยากรที่ใชเพื่อการผลิตเปนสินคาและบริการ
               ในความหมายทางเศรษฐศาสตรแบงปจจัยการผลิตเปน 4 ประเภท ดังนี้

                          1. ที่ดิน หมายรวมถึง ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด เชน ปาไม สัตว น้ํา แรธาตุ ปริมาณ
               น้ําฝน เปนตน สิ่งเหลานี้จะมีอยูตามธรรมชาติ มนุษยสรางขึ้นเองไมได แตสามารถพัฒนาปรับปรุงคุณภาพของ

               ทรัพยากรธรรมชาติไดบาง เชน การปรับปรุงที่ดินใหอุดมสมบูรณขึ้น เปนตน ผลตอบแทนจากการใชที่ดิน

               เราเรียกวา คาเชา
                          2. แรงงาน  หมายถึง แรงกาย แรงใจ ความรู สติปญญา และความคิดที่มนุษยทุมเทใหแกการผลิต

               สินคาและบริการ แตในที่นี้แรงงานสัตวจะไมถือเปนปจจัยการผลิตประเภทแรงงาน แตถือเปนทุน ประเภท
               มีชีวิต ผลตอบแทนของแรงงานเรียกวา คาจางและเงินเดือน โดยทั่วไปแลวแรงงานแบงเปน 3 ประเภทคือ

                          - แรงงานฝมือ เชน นักวิชาการ แพทย นักวิชาชีพตางๆ เปนตน

                          - แรงงานกึ่งฝมือ เชน ชางไม ชางเทคนิค พนักงานเสมียน เปนตน
                          - แรงงานไรฝมือ เชน กรรมกรใชแรง นักการภารโรง ยาม เปนตน

                          3. ทุน  ในความหมายทางเศรษฐศาสตร หมายถึง สิ่งกอสราง และเครื่องจักร เครื่องมือที่ใชใน

               การผลิต นอกจากนี้ทุนยังแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
                          3.1 เงินทุน หมายถึง ปริมาณเงินตราที่เจาของเงินนําไปซื้อวัตถุดิบ จายคาจาง  คาเชา และ

               ดอกเบี้ย
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137