Page 137 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 137

129


               โฆษณา จึงจําเปนที่ผูบริโภคตองศึกษาหาความรูเพิ่มเติม จากการสอบถามผูขายหรือบริษัทผูผลิตตลอดจนผูมี

               ความรู ผูเคยมีประสบการณในการใชสินคานั้น ๆ มาแลว
                       ขอความโฆษณาตอไปนี้ ถือวาเปนขอความที่ไมเปนธรรมตอผูบริโภค หรือเปนขอความที่อาจกอใหเกิด

               ผลเสียหายตอสังคมเปนสวนรวม

                       ขอความที่เปนเท็จหรือเกินความจริง
                       ขอความที่กอใหเกิดความเขาใจผิดในสาระสําคัญเกี่ยวกับสินคาหรือบริการ ไมวาจะเปนการกระทํา

               โดยใชหรืออางอิงรายงานทางวิชาการ สถิติหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอันเปนความจริง หรือเกินความจริงหรือไมก็ตาม
                       ขอความที่เปนการสนับสนุนโดยตรงหรือโดยออมใหมีการกระทําผิดกฎหมายหรือศีลธรรม หรือนําไปสู

               ความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมของชาติ
                       ขอความที่จะทําใหเกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคีในหมูประชาชน

                       ขอความอยางอื่นตามที่กําหนดในกระทรวงที่ผูประกอบธุรกิจตองระบุขอความใหครบถวน หากฝาฝนมี

               โทษตามกฎหมาย
                       ขอควรปฏิบัติหลังจากซื้อสินคาหรือบริการ

                       ผูบริโภคมีหนาที่ในการเก็บรักษาพยานหลักฐานตางๆ  ที่แสดงถึง  การละเมิดสิทธิของผูบริโภคไว

               เพื่อการเรียกรองตามสิทธิของตน พยานหลักฐานดังกลาว  อาจเปนสินคาที่แสดงใหเห็นวามีปริมาณ  หรือ
               คุณภาพไมเปนไปตามมาตรฐานที่ระบุไวในฉลาก มีความสกปรก หรือมีพิษที่กอใหเกิดอันตราย ควรจําสถานที่

               ซื้อสินคาหรือบริการนั้นไว เพื่อประกอบการรองเรียนและตองเก็บเอกสารโฆษณาและใบเสร็จรับเงินเอาไวดวย

                       เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภคขึ้น ผูบริโภคมีหนาที่ในการดําเนินการรองเรียน ตามสิทธิของตน
               โดยรองเรียนไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของกับการกํากับดูแลสินคาหรือบริการนั้นหรือรองเรียนมาที่สํานักงาน

               คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ตางจังหวัดรองเรียนที่คณะอนุกรรมการการคุมครองผูบริโภคประจําจังหวัด
                       การเตรียมตัวเพื่อรองทุกขสําหรับผูบริโภค

                       พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค

               (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 มาตรา 4 ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับการคุมครอง 5 ประการ ไดแก
                         สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตองและเพียงพอเกี่ยวกับสินคาหรือบริการ

                         สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ
                         สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ

                         สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา

                         สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
                       ดังนั้น การรองทุกขเมื่อไมไดรับความเปนธรรมจากการซื้อสินคาหรือบริการ ถือเปนเรื่อง ที่ชอบธรรม

               ที่ผูบริโภคควรกระทํา  เพื่อใหผูประกอบธุรกิจชดใชความเสียหายและเพื่อเปนการลงโทษหรือปรามมิให

               ผูประกอบธุรกิจเอารัดเอาเปรียบผูบริโภค
                       การเตรียมตัวของผูบริโภค เพื่อจะมารองทุกขเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญ  หากเอกสาร  หลักฐาน

               ที่ผูบริโภคนํามาไมครบถวน จะทําใหผูบริโภคเสียเวลาในการยื่นเรื่อง
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142