Page 140 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 140

132


                       การจัดตั้งกลุมเศรษฐกิจตามมาตรา 24 นั้น มีอยู 3 รูปแบบ คือ

                          1.  สหภาพศุลกากร
                          2.  เขตการคาเสรี

                          3.  ขอตกลงชั่วคราวกอนที่จะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการคาเสรี

                       เหตุผลของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ
                       ประเทศเล็กที่กําลังพัฒนากอตัวเปนกลุมเศรษฐกิจมากขึ้น เพราะนานาประเทศตระหนักวาการที่มี

               ตลาดใหญ การรวมใชทรัพยากร การแบงงานกันทําอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะประเทศที่อยูในอาณาบริเวณ
               ใกลเคียงกันจะนําไปสูพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่แข็งแกรงและสามารถแขงขันกับตลาดใหญ ๆ ได

                       ประเทศไทยไดรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่น ๆ อยางกวางขวาง และไดเขารวมเปนสมาชิกของ
               องคกรระหวางประเทศหลายองคกร ดังนี้

                       1. กลุมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian

               Nations : ASEAN) ประกอบดวย 6 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน และไทย
               สํานักงานใหญตั้งอยูที่เมืองจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย

                       องคกรนี้มีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สังคม

               และวัฒนธรรม ตลอดจนการเมืองระหวางประเทศสมาชิก
                       จากการกอตั้งกลุมอาเซียน  มาตั้งแต  พ.ศ.  2510  มาจนถึงปจจุบัน  ประเทศสมาชิกอาเซียน

               มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว  โครงสรางทางเศรษฐกิจก็เปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตรไปสู

               ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น สงผลใหประเทศสมาชิกประสบปญหาทั้งทางดานการขาดดุลการคา การเพิ่มอัตรา
               คาจางแรงงาน และการขาดแคลนการบริการพื้นฐาน

                       2. กลุมเอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2532  มีสมาชิก 12
               ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต สิงคโปร ฟลิปปนส นิวซีแลนด มาเลเซีย ญี่ปุน อินโดนีเซีย แคนาดา

               บรูไน ออสเตรเลีย และไทย

                       องคกรนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือในการแกปญหารวมกัน สงเสริมการคาเสรี ตลอดจน
               การปรับปรุงแบบแผนการติดตอการคาระหวางกัน และเพื่อตั้งรับการรวมตัวเปนตลาดเดียวกันระหวางประเทศ

               สมาชิก
                       3. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสําหรับเอเชียและแปซิฟก  (Economic  and  Social

               Commission for Asia and pacific : ESCAP)

                       องคกรนี้เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยองคการสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือ
               ในการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิกที่อยูในเอเชียและแปซิฟก รวมทั้งประเทศไทยดวย

               ESCAP  เปนองคกรที่ขยายมาจากคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแหงเอเชียและตะวันออกไกล  (Economic

               commission for Asia and the Far East : ECAFE) ซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490 และใน พ.ศ. 2517 ไดขยาย
               มาเปน ESCAP ทั้งนี้เพื่อใหครอบคลุมประเทศในพื้นที่เอเชียและแปซิฟกทั้งหมด ประเทศที่เปนสมาชิกจะไดรับ

               ความชวยเหลือในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สํานักงานตั้งอยูที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145