Page 135 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 135

127


               เรื่องที่  4 กฎหมายและขอมูลการคุมครองผูบริโภค

                       หนวยงานที่คุมครองผูบริโภค
                       กองคุมครองผูบริโภคดานโฆษณา  0-2629-7037-9 , 0-2629-7041-3

                       กองคุมครองผูบริโภคดานฉลาก   0-2629-7048-50 , 0-2629-7052-5

                       กองคุมครองผูบริโภคดานสัญญา   0-2629-7061-3 , 0-2629-7065-8
                       กองเผยแพรและประชาสัมพันธ     0-2629-8250-2 , 0-2629-8254-6

                       กองนิติการ                     0-2629-8259-60 , 0-2629-8262-4

                       สํานักงานเลขานุการกรม          0-2629-8243 , 0-2629-8245-8
                       การพิทักษสิทธิ์ผูบริโภค

                       รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ใหความสําคัญของ

               การคุมครองผูบริโภค โดยบัญญัติถึงสิทธิของผูบริโภคไวในมาตรา 57 วา “สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอม
               ไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”

                       พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค  พ.ศ.  2522  ซึ่งแกไขเพิ่มเติม  โดยพระราชบัญญัติคุมครอง
               ผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมาย 5 ประการ

               ดังนี้

                       1.สิทธิที่จะไดรับขาวสารรวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพที่ถูกตองและเพียงพอเกี่ยวกับสินคาหรือ
               บริการ ไดแก สิทธิที่จะไดรับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเปนจริงและปราศจากพิษภัยแกผูบริโภค

               รวมตลอดถึงสิทธิที่จะไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับสินคาหรือบริการอยางถูกตองและเพียงพอที่จะไมหลงผิด
               ในการซื้อสินคาหรือรับบริการโดยไมเปนธรรม

                       2.สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิที่จะเลือกซื้อสินคาหรือรับบริการ

               โดยความสมัครใจของผูบริโภค และปราศจากการชักจูงใจอันไมเปนธรรม
                       3.สิทธิที่จะไดรับความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการ ไดแก สิทธิที่จะไดรับสินคาหรือบริการ

               ที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสมแกการใช ไมกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกายหรือ

               ทรัพยสิน ในกรณีใชตามคําแนะนําหรือระมัดระวังตามสภาพของสินคาหรือบริการนั้นแลว
                       4.สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมในการทําสัญญา ไดแก สิทธิที่จะไดรับขอสัญญาโดยไมถูกเอารัดเอา

               เปรียบจากผูประกอบธุรกิจ

                       5.สิทธิที่จะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิที่จะไดรับการคุมครองและชดใช
               คาเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผูบริโภคตามขอ 1, 2, 3 และ 4 ดังกลาว

                       ขอควรปฏิบัติสําหรับผูบริโภคในการซื้อสินคาหรือบริการ
                       ขอควรปฏิบัติหลังจากซื้อสินคาหรือบริการ ผูบริโภคมีหนาที่ในการใชความระมัดระวัง ตามสมควร

               ในการซื้อสินคาหรือบริการ ไดแก การใหความสําคัญกับฉลากของสินคาและการโฆษณาสินคาหรือบริการ
                       1. ผูบริโภคตองตรวจดูฉลากของสินคา  เพื่อเปนขอมูลในการเปรียบเทียบสินคาแตละยี่หอ

               กอนตัดสินใจเลือกสินคา ฉลากของสินคาที่ควบคุมจะตองระบุขอความดังตอไปนี้
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140