Page 138 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 138

130


                       การเตรียมเอกสาร หลักฐานของผูรองเรียน

                       ผูรองเรียนจะตองเตรียมเอกสาร หลักฐานใหพรอม เพื่อจะนํามาใชประกอบกับการบันทึกคํารองเรียน
                       ใหผูบริโภคยื่นเรื่องรองเรียนที่สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค  (กรุงเทพมหานคร)  หรือ

               คณะอนุกรรมการการคุมครองผูบริโภคประจําจังหวัด ในจังหวัดที่ทานอาศัยอยู โดยมีขั้นตอน ดังนี้

                          1. ผูรองเรียนกรอกรายละเอียดในแบบบันทึกคํารองเรียนพรอมแนบเอกสาร  (เอกสารลงชื่อ
               รับรองสําเนาทุกฉบับ) มอบใหเจาหนาที่

                          2. ผูรองเรียนกรอกรายละเอียดในแบบหนังสือมอบอํานาจ (มอบอํานาจให สคบ.ดําเนินการแทน
               ผูรอง)

                          3. กรณีผูบริโภคไมสามารถรองเรียนดวยตนเองได  ผูมารองเรียนแทนจะตองมีหนังสือรับรอง
               มอบอํานาจจากผูบริโภค (พรอมติดอากรแสตมป จํานวน 30 บาท) นํามายื่นตอเจาหนาที่ดวย หากมีขอสงสัย

               ประการใดโปรดสอบถามเจาหนาที่เพิ่มเติม หรือโทรศัพทติดตอหนวยงานที่ใหการคุมครองผูบริโภค


               เรื่องที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ในเอเชีย


                       ความสําคัญของกลุมทางเศรษฐกิจในเอเชีย

                       การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคตาง ๆ

                       หลักการการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ    ความสัมพันธของการคาระหวางประเทศมีวิวัฒนาการ
               เปลี่ยนแปลงไปจากการคาในอดีต ทั้งในรูปแบบทางการคา ขอบขายกิจกรรมทางการคา ประเทศคูคาและ

               เทคโนโลยีสารสนเทศที่อํานวยความสะดวกทางการคา การเจรจาทางการคาเปนเรื่องสําคัญ และเปาหมายหลัก

               ของผูเจรจาทางการคาที่มาจากภาครัฐ คือ เพื่อสิทธิประโยชนทางการคาของชาติตนเอง เนื่องจากการแขงขัน
               ทางการคา ประเทศตาง ๆ จึงมีนโยบายและมาตรการที่ใชบิดเบือนทางการคา ซึ่งทําใหการคาระหวางประเทศ

               ขาดความเปนธรรมและขาดความเปนเสรี  การเจรจาทางการคานั้น  มุงหวังวาจะเปนการแลกเปลี่ยนหรือ
               ลดหยอนสิทธิพิเศษทางการคา จัดทําขอตกลงทางการคา ความรวมมือและพัฒนารูปแบบการคา และเพื่อแกไข

               ขอพิพาททางการคาระหวางประเทศ รูปแบบการเจรจาตอรองทางการคานั้นสามารถแบงไดตามระดับของการ
               เจรจา คือทวิภาคี (Bilateral) ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางประเทศตอประเทศการเจรจามากฝาย (Plurilateral)

               อาทิเชน การเจรจา 3 ฝาย หรือการเจรจา 4 ฝาย การเจรจาหลายฝายหรือพหุภาคี (Multilateral) ซึ่งเปนการ

               เจรจาที่มีประเทศเขารวมและใชเวลายาวนานกวาจะไดขอสรุป การเจรจาตอรองทางการคาเหลานี้นําไปสูระดับ
               ความสัมพันธทางการคาระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ปจจุบันระดับความสัมพันธในระดับกลุมประเทศ

               ในภูมิภาคใกลเคียงกันและมีขอตกลง ตอกัน (Regional Trade Arrangements) เปนกลุมเศรษฐกิจและเปน

               เรื่องสําคัญตอการพัฒนาที่นําไปสูการคาเสรีของโลก
                       รูปแบบของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

                       การรวมกลุมทางเศรษฐกิจมีไดหลายรูปแบบและมีวิวัฒนาการแตกตางกันโดยแตละรูปแบบจะมี

               ความเขมขนของความสัมพันธซึ่งกันและกันแตกตางกันไป เชน
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143