Page 139 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 139

131


                          1. ขอตกลงการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร (Preferential Tariff Agreement) เปนขอตกลง

               เพื่อลดภาษีใหแกกันและกัน โดยอัตราภาษีที่เรียกเก็บจะนอยกวาอัตราภาษีที่เรียกเก็บจากประเทศที่สาม เชน
               การรวมตัวกันของกลุม LAIA (Latin American Integration Association) , ASEAN และ Trade Expansion

               and Cooperation Agreement เปนตน

                          2. สหภาพศุลกากรบางสวน (Partial Customs Union) การรวมตัวทางเศรษฐกิจในรูปแบบนี้
               ประเทศที่ทําขอตกลงกันยังคงอัตราภาษีไวในระดับเดิม แตมีการกําหนดอัตราภาษีศุลกากรในการคากับประเทศ

               ภายนอกกลุมรวมกัน
                          3. เขตการคาเสรี (Free Trade Areas) ในเขตการคาเสรี การซื้อขายสินคาและบริการระหวาง

               ประเทศภาคี สามารถทําไดอยางเสรีปราศจากขอกีดกันทางการคา ทั้งมาตรการทางภาษีและมาตรการกีดกัน
               ทางการคาที่มิใชภาษี ในขณะเดียวกันแตละประเทศสมาชิกยังคงสามารถดําเนินนโยบายกีดกันทางการคา

               กับประเทศนอกกลุมไดอยางอิสระ เชน การรวมตัวกันของกลุม EFTA , NAFTA และ CER เปนตน

                          4. สหภาพศุลกากร (Customs Union) เปนรูปแบบของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่มีระดับความ
               เขมขนสูงขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง โดยการรวมกลุมในลักษณะนี้ นอกจากจะขจัดขอกีดกันทางการคาออกไปแลว

               ยังมีการกําหนดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรในการคากับประเทศภายนอกกลุมรวมกัน และใหมีอัตราเดียวกันดวย

                          5. ตลาดรวม (Common Market) รูปแบบของการรวมกลุมประเภทนี้ นอกจากจะมีลักษณะ
               เหมือนกับสหภาพศุลกากรแลว การเคลื่อนยายปจจัยการผลิต (แรงงาน ทุน และเทคโนโลยี) สามารถทําไดอยาง

               เสรี เชน การรวมตัวกันของกลุม EU กอนป 1992

                          6. สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมีการคาเสรี การเคลื่อนยายปจจัยการ
               ผลิตอยางเสรี และนโยบายการคารวมแลว ยังมีการประสานความรวมมือกันในการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ

               ทั้งนโยบายการเงิน และการคลังอีกดวย เชน การรวมตัวของกลุม EU ในปจจุบัน
                          7. สหภาพทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ (Total Economic Union) เปนการรวมตัวทางเศรษฐกิจ

               ที่มีความเขมขนมากที่สุด จะมีการจัดตั้งรัฐบาลเหนือชาติ และมีนโยบายทางเศรษฐกิจเดียวกัน

                       การมีขอตกลงทางการคาเสรีและบทบาทของ WTO

                       แกตตหรือองคการการคาโลก (WTO) ในปจจุบันมีวัตถุประสงคที่สําคัญประการหนึ่งคือ ตองการให

               การคาโลกดําเนินไปอยางเสรี บนพื้นฐานของความเทาเทียมกัน คือ ไมมีการเลือกปฏิบัติระหวางประเทศภาคี
               สมาชิก

                       การจัดตั้งกลุมเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคไมวาจะอยูในรูปทวิภาคีหรือพหุภาคีความเปนเสรีทางการคา
               มากขึ้นระหวางประเทศในกลุม แตไมอาจหลีกเลี่ยงการกีดกันทางการคาตอประเทศนอกกลุมไปได เมื่อพิจารณา

               จากบทบัญญัติของ WTO จะเห็นไดวา การรวมกลุมหรือการทําความตกลงทางการคาระดับภูมิภาคเชนนี้เปนสิ่ง

               ที่ดําเนินการได ถือวาเปน “ขอยกเวน” อยางหนึ่งของ WTO ที่ประเทศภาคีสมาชิกสามารถเลือกปฏิบัติได
               ระหวางประเทศในกลุมกับประเทศนอกกลุม  แตจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนดไวใน

               บทบัญญัติมิฉะนั้นอาจจะขัดกับพันธกรณีภายใต WTO ได
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144