Page 144 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 144

136


               เพื่อสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สงเสริมความรวมมือซึ่งกันและกันอันจะนํามาสู

               ความมั่นคงทางการเมืองความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
                       ในยุคที่สถานการณโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว การรวมตัวกันของประเทศในกลุมอาเซียน

               ทั้ง 10 ประเทศ ใหเขมแข็ง จะทําใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต สามารถเผชิญกับการ

               เปลี่ยนแปลงและปญหาไดดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังเปนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เพราะการที่มีสมาชิก
               ถึง 10 ประเทศ มีทาทีเปนหนึ่งเดียวในเวทีระหวางประเทศ ทําใหอาเซียนมีความนาเชื่อถือและมีอํานาจตอรอง

               ในเวทีระหวางประเทศมากขึ้น ดังนั้นในการประชุมผูนําอาเซียน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่บาหลี ผูนํามี
               ความเห็นตรงกันวาอาเซียนควรรวมมือกันใหเหนียวแนนเขมแข็งและมั่นคงยิ่งขึ้น จึงมีการลงนามในปฏิญญาวา

               ดวยความรวมมืออาเซียนเพื่อกําหนดใหมีการสรางประชาคมอาเซียนขึ้นภายในป 2563 ตอมาไดมีการเลื่อน
               กําหนดการรวมตัวในป พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเซียนประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ประชาคมเศรษฐกิจ

               อาเซียนประชาคมสังคม – วัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมความมั่นคงอาเซียน ซึ่งในที่นี้เราจะเรียนรูเฉพาะ

               เรื่องประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
                       ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Comunity : AEC) เปนการรวมกลุมของประเทศสมาชิก

               ของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ที่เนนใหความสําคัญในเรื่องการสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง

               โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN  Summit) ครั้งที่ 8 เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2545 โดยเห็นชอบให
               อาเซียนกําหนดทิศทางการดําเนินงานเพื่อมุงไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อใหอาเซียนปรับปรุง

               กระบวนการดําเนินงานภายในของกลุมอาเซียนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งในการประชุมสุดยอดอาเซียนในป

               2546 ผูนําอาเซียนไดออกแถลงการณเห็นชอบใหมีการรวมตัวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน
               ป 2558 และเรงรัดการรวมกลุม เพื่อเปดเสรีสินคาและบริการสําคัญใน 12 สาขา ไดแก การทองเที่ยว การบิน

               ยานยนต ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ

               สุขภาพ และ โลจิสติกส

               2. ความสําคัญ

                       ทามกลางบริบททางเศรษฐกิจ การคาและการลงทุนระหวางประเทศที่มีการแขงขันสูงอันสงผล
               ใหประเทศตาง ๆ ตองปรับตัวเองเพื่อใหไดรับประโยชนจากระบบเศรษฐกิจโลก รวมถึงการรวมกลุมการคากัน

               ของประเทศตาง ๆ อาทิ สหภาพยุโรป และเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือผูนําประเทศสมาชิกอาเซียนไดเห็นชอบ
               ใหจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน” ภายในป 2585 เพื่อที่จะใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

               มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได โดยยึดหลัก ดังนี้

                              1. มุงที่จะจัดตั้งใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการผลิตรวมกัน
                              2. มุงใหเกิดการเคลื่อนยายเงินทุน สินคา การบริการ การลงทุน แรงงานฝมือระหวางประเทศ

               สมาชิกโดยเสรี

                              3. ใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน (ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ
               ประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดชองวาง
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149