Page 147 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 147

139


               สาขาการทองเที่ยว สาขาการบิน และสาขาบริการโลจิสติกส ทั้งนี้เพื่อใหอาเซียนมีความพรอมในการกาวไปสู

               การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ตอไป
                       4.6  ความรวมมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส (e-ASEAN  Framework

               Agreement)

                          ผูนําของอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันลงนามในกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของ
               อาเซียน ซึ่งเปนขอตกลงที่กําหนดแนวทางเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดาน

               เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร  (Information  Technology  and  Communication-ICT) เพื่อพัฒนา
               เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร ในภูมิภาคใหสอดคลองกันและเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีมาตรการ

               ที่ครอบคลุมทั้ง 5 ดาน ดังนี้
                           1) การพัฒนาเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของอาเซียน

               (ASEAN Information Infrastructure) ใหสามารถติดตอถึงกันไดอยางทั่วถึงกันและดวยความเร็วสูง

                          2) การอํานวยความสะดวกดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) โดยการออกกฏหมาย
               และระเบียบดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่สอดคลองกับมาตรฐานระหวางประเทศ และมีระบบรักษา

               ความปลอดภัยที่เปนมาตรฐานสากล เพื่อสรางความเชื่อมั่นแกผูบริโภค

                          3) สงเสริม และเปดเสรีดานการคาสินคา บริการ และการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
               การสื่อสาร (ICT)  โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะยกเลิกภาษีและอุปสรรคทางการคาไมใชภาษีสําหรับสินคา ICT

                          4) สรางสังคมอิเล็กทรอนิกส (e-Society)  เสริมสรางความสามารถและพัฒนาอิเล็กทรอนิกส

               เพื่อประโยชนตอสังคม
                          5) สรางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government)  สงเสริมใหมีการใช ICT  ในการบริการของ

               ภาครัฐใหมากขึ้น
                       4.7 ความรวมมือดานการเงินการคลัง (Financial Cooperation)

                          เปนกรอบความตกลงความรวมมือที่เนนการสรางกลไกการสนับสนุนเกื้อกูลระหวางกันในเรื่อง

               การเงินการคลังของประเทศสมาชิกเพื่อดูแลสภาวะเศรษฐกิจดานการเงิน
                          1) อาเซียนไดจัดตั้งระบบระวังภัยอาเซียน (ASEAN  Surveillance  Process) ขึ้น เมื่อวันที่  4

               ตุลาคม 2541 เพื่อสอดสองดูแลสภาวะเศรษฐกิจและการเคลื่อนยายเงินทุนในภูมิภาค โดยใหมีการหารือและ
               แลกเปลี่ยนขอคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจในประเทศสมาชิกในภูมิภาคและในโลก โดยธนาคารพัฒนาเอเชีย

               (ADB)  ไดสนับสนุนและใหความชวยเหลือทางวิชาการและเงินทุนโดยการจัดการฝกอบรมดานเทคนิค

               แกเจาหนาที่ประเทศสมาชิก และในการจัดตั้ง ASEAN  Surveillance  Technical  Support  Unit
               ในสํานักงานเลขาธิการอาเซียนเพื่อสนับสนุนระบบดังกลาว

                          2) การเสริมสรางกลไกสนับสนุนและเกื้อกูลระหวางกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Enhancing

               self-help and support mechanism in East Asia) โดยไดกําหนดแนวทางความรวมมือกับ จีน ญี่ปุน และ
               เกาหลีใต ที่สําคัญ ไดแก จัดทําความตกลงทวิภาคีดานการแลกเปลี่ยนการซื้อ-ขายคืนเงินตราหรือหลักทรัพย
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152