Page 148 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 148

140


               ตางประเทศ หารือเกี่ยวกับการจัดตั้งระบบเตือนภัยในภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนการหารือเกี่ยวกับภาวะ

               เศรษฐกิจในภูมิภาค
                          3)  ความริเริ่มเชียงใหม (Chiang Mai Initiative) ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.

               2543  เปนการปรับปรุงความตกลงแลกเปลี่ยนเงินตราอาเซียน (ASEAN  Swap  Arrangement  -  ASA)

               ในดานโครงสราง รูปแบบและวงเงิน  และใหเสริมดวยเครือขายความตกลงทวิภาคีระหวางประเทศ
               อาเซียนกับจีน ญี่ปุนและสาธารณรัฐเกาหลี (Bilateral  Swap  Arrangment-BSA)  โดยไดขยายให ASA

               รวมประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศแลว
                       4.8 ความรวมมือดานการเกษตรและปาไมของอาเซียน และอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชน

               จีน สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี และญี่ปุน)
                          เปนโครงการความรวมมือระหวางอาเซียน และประเทศอาเซียน + 3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน

               สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี และญี่ปุน) ที่ครอบคลุมความรวมมือในดานการประมง ปาไม ปศุสัตว พืช และ

               อาหารการเกษตร เพื่อสงเสริมความมั่นคงทางดานอาหารและความสามารถในการแขงขันของอาเซียนในดาน
               อาหารและผลผลิตปาไม

                       4.9  ความรวมมือดานการขนสง

                          เปนกรอบความตกลงที่เนนการอํานวยความสะดวกในการขนสงทั้งสินคาและบริการรวมกัน
               ระหวางประเทศสมาชิกที่จะสงผลใหสภาพเศรษฐกิจโดยรวมในภูมิภาคเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว

                          1)  โครงการพัฒนาทางหลวงอาเซียน (ASEAN  Highway  Network  Project)    ลักษณะของ

               โครงขายทางหลวงอาเซียน คือ มีทางหลวงครอบคลุม 23 สาย ทั่วทั้งภูมิภาคอาเซียน และจัดทํามาตรฐานทาง
               หลวงอาเซียน (ปายจราจร สัญญาณ และระบบหมายเลข)ใหเปนแบบเดียวกัน

                          2)  การอํานวยความสะดวก ในการขนสงสินคาผานแดน  มีวัตถุประสงคใหประเทศสมาชิก
               อาเซียนอนุญาตใหรถยนตขนสงที่จดทะเบียนในประเทศสมาชิกหนึ่งสามารถขนสงสินคาผานแดน ไปยังอีก

               ประเทศหนึ่งได

                          3) การเปดเสรีบริการขนสงเฉพาะสินคาของอาเซียน มีวัตถุประสงคที่จะสงเสริมการขนสงสินคา
               ในอาเซียนดวยกัน

                          4) การเปดเสรีบริการขนสงผูโดยสารทางอากาศของอาเซียน เปนการสงเสริมอุตสาหกรรม
               การทองเที่ยวและการสงออกสินคาของไทยและสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลที่ตองการใหมีการเปดเสรี

               การบินและสงเสริมใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการบินในภูมิภาคนี้ดวย

                       4.10 ความรวมมือดานพลังงานในอาเซียน (ASEAN Energy Cooperation)
                            เพื่อเสริมสรางความมั่นคงและความยั่งยืนในการจัดหาพลังงาน การใชพลังงานอยางมี

               ประสิทธิภาพในภูมิภาคอาเซียน และการจัดการดานความตองการพลังงานอยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงปจจัย

               ดานสภาพสิ่งแวดลอม และการชวยเหลือกันในการแบงปนปโตรเลียมในภาวะฉุกเฉิน
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153