Page 146 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 146

138


               4. ความรวมมือดานเศรษฐกิจ

                       ความรวมมือดานเศรษฐกิจของอาเซียนเริ่มมีเปาหมายชัดเจนเริ่มนําไปสูการรวมตัวทางเศรษฐกิจของ
               ประเทศในภูมิภาคอาเซียน นับตั้งแตการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ขึ้นและนับแตนั้นมากิจกรรม

               อาเซียนไดขยายครอบคลุมไปสูทุกสาขาหลักทางเศรษฐกิจ รวมทั้งในดานการคาสินคาและบริการการลงทุน

               มาตรฐานอุตสาหกรรมและการเกษตรกรรม ทรัพยสินทางปญญา การขนสง พลังงาน และการเงิน
               การคลัง เปนตน ความรวมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่สําคัญ มีดังนี้

                       4.1 เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA)
                          เขตการคาเสรีอาเซียน หรือ AFTA เปนขอตกลงทางการคาสําหรับสินคาที่ผลิตภายในประเทศ

               สมาชิกอาเซียนทั้งหมด ทําขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ
               อาเซียน ในฐานะที่เปนการผลิตที่สําคัญในการปอนสินคาสูตลาดโลก โดยอาศัยการเปดเสรีดานการคา การลด

               ภาษี และยกเลิกอุปสรรคขอกีดขวางทางการคาที่มิใชภาษี

                       4.2  เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area หรือ AIA)
                           ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 5 เมื่อเดือนธันวาคม 2538 ที่กรุงเทพฯ ไดเห็นชอบใหจัดตั้งเขต

               การลงทุนอาเซียน เปนเขตการลงทุนเสรีที่มีศักยภาพโปรงใสเพื่อดึงดูดนักลงทุนทั้งจากภายในและภายนอก

               ภูมิภาค ความตกลงครอบคลุมการลงทุนในอุตสาหกรรม 5  สาขา คือ สาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร
               ประมง ปาไม และเหมืองแร และภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขาการผลิตดังกลาว ยกเวน การลงทุนดาน

               หลักทรัพยและการลงทุนในดานซึ่งครอบคลุมโดยความตกลงอาเซียนอื่น ๆ

                       4.3  ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration หรือ IAI)
                           การรวมตัวของประเทศสมาชิก  เพื่อลดชองวางดานการพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกเกา

               (ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน อินโดนีเซีย) กับสมาชิกใหมของอาเซียน (สหภาพพมา สาธารณรัฐ
               ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม)  โดยใหประเทศ

               สมาชิกเการวมกันจัดทําโครงการใหความชวยเหลือแกประเทศใหม ครอบคลุม 4 ดาน ไดแก โครงสรางพื้นฐาน

               การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                       4.4  ความรวมมือดานอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรือ AICO)

                           ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน เปนโครงการความรวมมือที่มุงสงเสริมการลงทุน
               ในอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีเปนฐานการผลิต โดยยึดหลักของการใชทรัพยากรรวมกัน การแบงสวน

               การผลิตตามความสามารถ และความถนัด

                       4.5 กรอบความตกลงดานการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services หรือ
               AFAS)

                           เปนการกําหนดกรอบการเปดเสรีการคาการบริการในสาขาการบริการตาง ๆ ของอาเซียน

               โดยจัดทําขอผูกพันในดานการเปดตลาด (market  access)  การใหการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติ (National
               Treatment) และดานอื่น ๆ (additional commitments)  นอกจากนี้ สมาชิกอาเซียนยังตองเรงรัดเปดตลาด

               ในสาขาบริการที่เปนสาขาสําคัญ 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151