Page 149 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 149

141


                       4.11 ความตกลงดานการทองเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Agreement)

                            เปนความรวมมือเพื่อสงเสริมใหอาเซียนเปนจุดหมายปลายทางการทองเที่ยว โดยเนน
               ความรวมมือใน 7 ดาน คือ การอํานวยความสะดวกการเดินทางในอาเซียนและระหวางประเทศ การอํานวย

               ความสะดวกดานขนสง การขยายตลาดการทองเที่ยว การทองเที่ยวที่มีคุณภาพความปลอดภัยและความมั่นคง

               ของการทองเที่ยว การตลาดและการสงเสริมรวมกัน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งตอมาการตกลงดาน
               การทองเที่ยวอาเซียนนี้ยังไดขยายไปยังประเทศอาเซียน +3 (สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาชน

               เกาหลี และญี่ปุน) เรียกวา “ความรวมมือดานการทองเที่ยวในกรอบอาเซียนและอาเซียน +3 โดยใหประเทศ
               อาเซียน +3 เสนอแนวทางความรวมมือกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่ชัดเจนเพื่อสงเสริมความรวมมือระหวางกัน

               5. ประโยชนและผลกระทบตอประเทศไทย
                       5.1 ประโยชนที่ประเทศไทยไดรับจากการเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

                       หากอาเซียนสามารถสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว ประเทศไทย

               จะไดประโยชนหลายประการ เชน
                          1)  ขยายการสงออกและโอกาสทางการคา จากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใชภาษีจะเปด

               โอกาสใหสินคาเคลื่อนยายเสรี

                          2)  คาดวาการสงออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวไดไมต่ํากวา 18 - 20% ตอป
                          3)  เปดโอกาสการคาบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเขมแข็ง  เชน  ทองเที่ยว โรงแรมอาหาร  และ

               สุขภาพ  ทําใหไทยมีรายไดจากการคาบริการจากตางประเทศเพิ่มขึ้น

                          4)  สรางเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนยายเงินทุนไดเสรียิ่งขึ้นอุปสรรคการลงทุน
               ระหวางอาเซียนจะลดลง  อาเซียนจะเปนเขตการลงทุนที่นาสนใจทัดเทียมประเทศจีนและอินเดีย

                          5)  เพิ่มพูนขีดความสามารถของผูประกอบการไทย เมื่อมีการใชทรัพยากรการผลิตรวมกัน/เปน
               พันธมิตรทางธุรกิจรวมกับอาเซียนอื่น ๆ ทําใหเกิดความไดเปรียบเชิงแขงขัน (Comparative Advantage)

               และลดตนทุนการผลิต

                          6)  เพิ่มอํานาจการตอรองของไทยในเวทีการคาโลก สรางความเชื่อมั่นใหประชาคมโลก
                          7)  ยกระดับความเปนอยูของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงวา AEC จะทําใหรายได

               ที่แทจริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นรอยละ 5.3 หรือคิดเปนมูลคา 69 พันลานเหรียญสหรัฐฯ


                       5.2 ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

                       ถึงแมประเทศไทยจะไดประโยชนจากการเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) แตประเทศไทย
               ก็ไดรับผลกระทบดวยเชนกัน เชน

                       1) การเปดตลาดเสรีการคาและบริการยอมจะสงผลกระทบตออุตสาหกรรมและผูประกอบการ
               ในประเทศที่มีขีดความสามารถในการแขงขันต่ํา

                       2) อุตสาหกรรมและผูประกอบการในประเทศตองเรงปรับตัว
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154