Page 145 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 145

137


               ของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน และชวยใหประเทศสมาชิกเหลานี้เขารวมในกระบวนการ

               รวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน สงเสริมใหอาเซียนสามารถรวมตัวเขากับประชาคมโลกไดอยางไมอยูใน

               ภาวะที่เสียเปรียบและสงเสริมขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียน
                              4. สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาโครงสราง

               พื้นฐานและการคมนาคมความรวมมือดานกฎหมาย การพัฒนาความรวมมือดานการเกษตร พลังงาน
               การทองเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝมือ ประชาคมเศรษฐกิจ

               ของอาเซียน จะเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยขยายปริมาณการคาและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพา
               ตลาดของประเทศในโลกที่สาม สรางอํานาจการตอรองและศักยภาพในการแขงขันของอาเซียนในเวที

               เศรษฐกิจโลก เพิ่มสวัสดิการและยกระดับความเปนอยูของประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซียน
                       หากอาเซียนสามารถสรางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดสําเร็จ ประเทศไทยจะไดประโยชนจากการ

               ขยายการสงออก โอกาสทางการคา และเปดโอกาสการคาบริการในสาขา ที่ประเทศไทยมีความเขมแข็ง เชน

               การทองเที่ยว โรงแรมและภัตตาคาร สุขภาพ ฯลฯ ซึ่งอาเซียนยังมีความตองการดานการบริการเหลานี้อีกมาก
               นอกจากนี้ยังชวยเสริมสรางโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศมายังอาเซียน ซึ่งจะเพิ่ม

               อํานาจการตอรองของอาเซียนในเวทีการคาโลก และยกระดับความเปนอยูของประชาชนในอาเซียนโดยรวมให

               ดียิ่งขึ้น

               3. กฎบัตรอาเซียน
                       กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทําใหอาเซียนมีสถานะเปนนิติบุคคล

               เปนการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรางองคกรใหกับอาเซียน
                       ผูนําอาเซียนไดลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20

               พฤศจิกายน 2550 ในโอกาสครบรอบ 40 ป ของการกอตั้งอาเซียน ณ ประเทศสิงคโปร เพื่อใหประชาคมโลก
               ไดเห็นถึงความกาวหนาของอาเซียนที่จะกาวเดินไปดวยกันอยางมั่นใจระหวางประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ

               และถือเปนประวัติศาสตรจะปรับเปลี่ยนอาเซียนใหเปนองคกรที่มีสถานะเปนนิติบุคคลในฐานะที่เปนองคกร

               ระหวางรัฐบาล ทั้งนี้ประเทศสมาชิกไดใหสัตยาบันเปน   กฎบัตรอาเซียนครบทั้ง 10 ประเทศแลว เมื่อวันที่ 15

               พฤศจิกายน 2551 ดังนั้นกฎบัตรอาเซียนจึงมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เปนตนไป

                       วัตถุประสงคของกฎบัตรอาเซียน

                              1. เพื่อใหองคกรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลางและเคารพกฎกติกาในการ
               ทํางานมากขึ้น

                              2. เพื่อเสริมสรางกลไกตรวจสอบเฉพาะและติดตามการดําเนินการตามความตกลงตาง ๆ

               ของประเทศสมาชิก ใหมีผลเปนรูปธรรม
                              3. เพื่อปรับปรุงโครงสรางการทํางานและกลไกตาง ๆ ของอาเซียนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

               และเพิ่มความยืดหยุนในการแกไขปญหา
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150