Page 115 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 115

107


               วันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1947 กับการประกาศแผนการมารแชลล เพื่อฟนฟูบูรณะยุโรป (The marshall Plan)

               การขยายอิทธิพลของสหภาพโซเวียตในยุโรปตะวันออก และการแบงแยกเยอรมนี เปนตน
                          2)  ค.ศ. 1950 - 1960 เปนระยะที่สาธารณรัฐประชาชนจีนไดเขามามีบทบาทในวงการเมือง

               ระหวางประเทศ เกิดวิกฤตการณหลายอยาง เชน สงครามเกาหลี สงครามเวียดนามและการรุกรานทิเบตของจีน

               เปนตน
                          3)  ทศวรรษที่ 1960 เปนระยะการอยูรวมกันโดยสันติ (Peaceful Co-existence) คือ การสราง

               ความสัมพันธแบบไมเผชิญหนา ซึ่งเปนนโยบายของ นายนิกิตา  ครุสชอฟ ทําใหเกิดความคิดแตกแยกระหวาง
               สหภาพโซเวียตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน

                          4)  ทศวรรษที่ 1970 เปนระยะการผอนคลายความตึงเครียด (Détente) คือ การแตกขั้วอํานาจ
               ระหวางสองคายประชาธิปไตย และคอมมิวนิสตที่สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเผชิญหนากันอยูไดเพิ่มขั้วจีน

               คอมมิวนิสตเขามา เริ่มจากการไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ในป ค.ศ. 1972 ของประธานาธิบดีริชารด

               นิกสัน ของสหรัฐอเมริกา เยือนสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1973 และตอมาประธานาธิบดีเบรสเนฟ ของสหภาพ
               โซเวียตก็เดินทางไปเยือนสหรัฐอเมริกาดวย

                          5)    ค.ศ.  1985  -  1991  นายมิคาอิล    กอรบาชอฟ  (Mikhail  Gorbachev)  เสนอนโยบาย

               กล็าสนอสต-เปเรสทรอยกา (Glasnost-Perestroika) หรือนโยบายเปด-ปรับ (openness-reconstructuring)
               ทางการเมืองและเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต จนถึง ค.ศ. 1989 เริ่มมีการทําลายกําแพงเบอรลิน และเยอรมนี

               ตะวันออกกับตะวันตกสามารถรวมประเทศสําเร็จ ใน ค.ศ. 1990 - 1991 ประเทศกลุมบอลติก (ลิทัวเนีย ลัตเวีย

               เอสโตเนีย) ก็ขอแยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต
                          นายมิคาอิล  กอรบาชอฟ ไดเปนประธานาธิบดีจากการเลือกตั้งในสภาแทนการแตงตั้ง โดยพรรค

               คอมมิวนิสตดังที่ผานมา มีการประชุมสุดยอดที่กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เปนการยุติสงครามเย็น แตเกิด
               รัฐประหารใน ค.ศ. 1991 เปดทางใหนายบอริส  เยลตซิน โดงดังในฐานะผูสามารถปราบกบฏ และเตรียมการตั้ง

               เปนประเทศเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States) ในเดือนธันวาคม นายกอรบาชอฟ

               ลาออกจากตําแหนงประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต เปนการยุติความคงอยูของสหภาพโซเวียต คงให
               สหรัฐอเมริกาเปนอภิมหาอํานาจผูนําโลกเพียงชาติเดียวและ ถือวาเปนการยุติสงครามเย็นดวย

                       จากเหตุการณประวัติศาสตรที่ผานมาสงผลใหประเทศตาง ๆ  ในเอเชียมีการเมืองการปกครอง
               ในรูปแบบประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น และแมแตประเทศสังคมนิยม เชน สหภาพโซเวียต รัสเซียไดพัฒนาการเมือง

               การปกครองมาเปนสังคมนิยมสมัยใหมมีการเปดประเทศและพัฒนาประเทศใหแข็งแกรง ดานเทคโนโลยีและ

               เศรษฐกิจยิ่งขึ้น
                       การสิ้นสุดสงครามเย็นในทวีปเอเชีย

                       ประเทศทวีปเอเชียอยูภายใตอิทธิพลของสังคมเย็น  ระหวางรัสเซียและอเมริกาซึ่งพยายามขยาย

               อิทธิพลมายังประเทศตาง ๆ  ในเอเชีย  เปนการแยงชิงทรัพยากรของมหาอํานาจทั้งสองแตรัสเซีย ซึ่งเปน
               ตนแบบการปกครองแบบคอมมิวนิสตที่จีนรับมาและพัฒนาใหเหมาะสมกับตนเอง  จีนจึงเปนประเทศ

               มหาอํานาจในเอเชียที่มีอิทธิพลตอประเทศตาง ๆ แทนรัสเซียดังนั้น สงครามเย็นที่เริ่มมีในเวียดนาม กัมพูชา
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120